Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 : การวิเคราะห์การรู้เท่าทันสื่อ - Coggle Diagram
บทที่ 7 : การวิเคราะห์การรู้เท่าทันสื่อ
1.โครงสร้างการรู้เท่าทันสื่อ
1.ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อม
(Environmental Factors)
1.1 ความสามารถในการเข้าถึงสื่อ (Media Avaiable) เช่น หนังสือพิมพ์
วิทยุโทรทัศน์ภาพยนตร์อินเทอร์เน็ต เป็นต้น
1.2 บริบทรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy Context) เช่น สื่อมวลชนศึกษา
นโยบายการรู้เท่าทันสื่อ ประชาสังคม และอุตสาหกรรมสื่อ
2.ความสามารถส่วนบุคคล
(Individual Competences)
2.1. ทักษะการใช้สื่อ (Use Skills) เป็นเงื่อนไขแรกของการรู้เท่าทันสื่อ
คือ ความสามาร์ในการเข้าถึงสื่อ+ ทักษะการปฏิบัติ (ใช้สื่อเหมาะสม
คล่อง ทักษะคอมพิวเตอร์และการใช้อินเตอร์เน็ต)
2.2 ความสามารถทางสังคม (SocialCompetences) ประกอบด้วย ความ
สามารถทางการสื่อสาร
2.มิติการรู้เท่าทันสื่อ
1 มิติด้านการรับรู้ (cognitive dimension)
2 มิติด้านอารมณ์ (emotional dimension)
3.มิติด้านสุนทรียะ (aesthetic dimension)
4.มิติด้านจริยธรรม (moral dimension)
3.ปัจจัยที่ส่งผลต่อการรู้เท่าทันสื่อ
โครงสร้างความรู้ (knowledge structure)
จุดยืนของความต้องการส่วนตัว (personal locus)
ชุดของความสามารถและทักษะของบุคคลหนึ่งๆ
(competencies and skills)
การจัดประมวลข้อมูล (information-processing tasks)
4.ลักษณะของผู้รู้เท่าทันสื่อ
1 มีข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นที่สื่อนําเสนอ
2.ตระหนักถึงความเกี่ยวข้องของสื่อและอิทธิพลที่สื่อมีต่อ วิถีชีวิต ทัศนคติและค่านิยมของตน
3.สามารถตีความสารได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อเข้าถึง ความหมายที่ชัดแจ้งของสาร
4.พัฒนาการรับรู้แนวโน้มของเนื้อหาสื่อมวลชนในฐานะที่เป็น ช่องทางหนึ่งในการทําความเข้าใจวัฒนธรรมของสื่อ
5.มีส่วนร่วมในการพัฒนาข้อบังคับและกฎระเบียบด้านความเป็น มีส่วนร่วมในการพัฒนาข้อบังคับและกฎระเบียบด้านความเป็น
6.พิจารณาถึงบทบาทของสื่อมวลชนที่มีผลต่อการตัดสินใจ ด้านต่างๆ ของตนเอง
5.ปัจจัยที่ส่งผลต่อการรู้เท่าทันสื่อ
• อายุ
• สถานภาพทางสังคม
• เพศ
• ความพิการหรือการไร้ความสามารถ
• การออกแบบเทคโนโลยีและเนื้อหา
• ความตระหนักของผู้บริโภค
• คุณค่าที่ได้รับ
• ความสามารถในตน
• เครือข่ายทางสังคม
• ส่วนประกอบทางครอบครัว
• สถานที่ทํางาน
• ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับ สถาบัน