Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่13 การต่อองค์อาคารโดยการเชื่อม, จัดทำโดย - Coggle Diagram
บทที่13 การต่อองค์อาคารโดยการเชื่อม
รูปแบบของการเชื่อมและจุดต่อ
ในจุดต่อเชื่อมน้ันองค์อาคารที่มาต่อกันมีได้หลายรูปแบบ
จุดต่อชน (Butt)
จุดต่อที(Tee)
จุดต่อขอบ (Edge)
จุดต่อทาบ (Lap)
จุดต่อมุม (Corner)
การเชื่อมที่ใช้เป็นหลักในงานโครงสร้างมีสองประเภท
การเชื่อมแบบฟิลเลต (Fillet welds)
การเชื่อมแบบร่อง (Groove welds)
ข้อกำหนดสำหรับการเชื่อมแบบอุดรูยาว:
ความกว้างของรูต้องไม่น้อยกว่าความหนาแผ่นเหล็กบวก 8 มม. และไม่เกิน 2¼ เท่าขนาดรอยเชื่อม
ขนาดรอยเชื่อม
หรับเหล็กหนากว่า 16 ม.ม.ขนาดรอยเชื่อมต้องไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งความหนาหรือ 16 ม.ม
สำหรับเหล็กหนาไม่เกิน 16 ม.ม. ขนาดรอยเชื่อมต้องเท่ากับความหนาแผ่นเหล็ก
ความยาวมากสุดของรูจะเท่ากับสิบเท่าของขนาดรอยเชื่อม
กำลังของรอยเชื่อมฟิ ลเลต
หน่วยเเรงเฉือนที่ยอมให้
Fv = 0.3 Fu
กำลังต่อความยาว
P = Fv(0.707)(ขนาดขารอยเชื่อม)
สัญลักษณ์ของการเชื่อม
สัญลักษณ์ของการเชื่อมตามข้อกำหนดมาตรฐานของ AWS ซึ่งด้วยระบบตัวย่อนี้ข้อมูลจำนวนมากสามารถ
ที่จะถูกแสดงภายในเนื้อที่จำกัดบนแบบแปลนทำให้ไม่จำเป็นต้องวาดภาพรอยต่อและคำอธิบายยาวๆ
รอยเชื่อมรับแรงเฉือนและแรงบิด
หน่วยเเรงที่เกิดจากเเรงเฉือน
Fs=P/A
เนื่องจากรอยเชื่อมแบบฟิลเลตมักจะอยู่ภายใต้แรงกระทำเยื้องศูนย์จึงทำให้เกิดแรงเฉือนและแรงบิดหรือแรงเฉือนและแรงดัด
จัดทำโดย
นายณัฐกร งามขำรหัสนิสิต 60361224
นายพชรพล สมัครเขตรการ รหัสนิสิต 60363150
นางสาวพิมพ์ผกา หล้านามวงค์ รหัสนิสิต 60363402
นายพีรพัฒน์ กาญจนเพชร รหัสนิสิต 60363471
นายสิปปกร พิริยะอนันตกุล รหัสนิสิต 60365086