Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติ คุ้มครองเด็ก พ.ศ2546, นางสาวนุชนาฎ เพ็ชรหนู 6220160354…
พระราชบัญญัติ คุ้มครองเด็ก พ.ศ2546
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ 24 กันยายน พ.ศ.2546 เป็นปีที่ 58 ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็ก
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา31มาตรา34มาตรา35มาตรา36มาตรา39มาตรา48และมาตรา50 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้มาตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
มาตรา2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา 3 ให้ยกเลิก
1ประกาศของคณะของคณะปฏิบัติ ฉบับที่ 132 ลงวันที่22เมษายนพ.ศ.2515
2ประกาศของคณะของคณะปฏิบัติ ฉบับที่ 294 ลงวันที่27 พฤศจิกายน พ.ศ.2515
มาตรา1 พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ2546
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
เด็ก คือ บุคคลซึ่งมีอายุต่ำว่า18 ปีบริบรูณ์แต่ไม่รวมถึงผู้ที่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส
เด็กเร่รอน คือ เด็กที่ไม่มีบิดามารดาหรือผู้ปกครอง
ครอบครัวอุปถัมภ์ คือบุคคลที่รับเด็กไว้อุปการะเลี้ยงดูอย่างบุตร
สืบเสาะและพินิจ คือ การค้นหาและรวบรวมข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุุคล
ทารุณ คือ การกระทำ จนเป็นเหตุให้เด็กเสื่อมเสียเสรีภาพหรือเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจ
สถานรับเลี้ยงเด็ก คือสถานที่รับเลี้ยงและพัฒนาเด็กที่มีอายุไม่เกินหกปีบริบูรณ์และมีจำนวนตั้งแต่หกคนขึ้นไป
สถานรับเลี้ยงเด็ก คือสถานที่รับเด็กไว้อุปการะ
สถานสงเคราะห์ คือสถานที่ให้การอุปการะเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กที่จำต้องได้รับการสงเคราะห์ ซึ่งมีหกคนขึ้นไป
สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ คือสถานที่ให้การศึกษา อบรม ฝึกอาชีพ เพื่อแก้ไขความประพฤติ บำบัด
เด็กกำพร้า คือ เด็กที่บิดาหรือมารดาเสียชีวิต
พนักงานเจ้าหน้าที่ คือผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่ตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
การเลี้ยงดูโดยมิชอบ คือ การไม่ให้การอุปการะเลี้ยงดู อบรมสั่งสอน
นักเรียน คือเด็กซึ่งกำลังรับการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาทั้งประเภทสามัญศึกษาและอาชีวศึกษา
สถานพัฒนาและฟื้นฟู คือ สถานที่ โรงเรียน สถาบัน หรือศูนย์ที่จัดขึ้นเพื่อให้การบำบัดรักษา
เด็กพิการ คือ เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย
เด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิด คือเด็กที่ประกอบอาชีพหรือคบหาสมาคมกับบุคคลที่น่าจะชักนำไปในทางกระทำผิดกฎหมาย
นักศึกษา คือเด็กซึ่งกำลังรับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ผู้ปกคอง คือ บิดามารดา ผู้รับบุตรบุญธรรม
บิดามารดา คือบิดามารของเด็กไม่ว่าจะสมรสกันหรือไม่
เด็กที่อยู่ในสภาพยากลำบาก คือ เด็กที่อยู่ในครอบครัวยากจนหรือบิดามารดาหย่าร้าง
สถานพินิจ คือสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
กองทุน คือกองทุนคุ้มครองเด็ก
คณะกรรมการ คือคณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ
ปลัดกระทรวง คือปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่งคงของมนุษย์
รัฐมนตรี คือรัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด1คณะกรรมการคุ้มครองเด็ก
มาตรา8 ให้สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่งคงของมนุษย์ ทำหน้าที่เป็นสำนักงานเลขาการของคณะกรรมการ โดยให้มีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
3.พัฒนาระบบ รูปแบบ และวิธีการ ตลอดจนให้บริการด้านสงเคราะห์
4.รวบรวมผลการวิเคราะห์
2.ประสานงานและร่วมมือกับส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ และเอกชนที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานเกี่ยวกับการสงเคราะห์
5.ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมหรือตามที่คณะกรรมการมอบหมายมาตรา9 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระอยู่ในตำแหน่งเพราะครบวาระอาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้ แต่ต้องไม่เกินสองวาระติดต่อกัน
1.ปฏิบัติงานธุรการทั่วไปของคณะกรรมการ
มาตรา10นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระตามมาตรา9กรรมผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่ง เมื่อ
ตาย
ลาออก
รัฐมนตรีให้ออกเพราะบกพร่องหรือไม่สุจริตต่อหน้าที่
ได้รับโทษจำคุก
เป็นบุคคลล้มละลาย
เป็นคนไร้ความสามารถ
ขาดการการประชุมชนติดต่อกัน3 ครั้งโดยไม่มีเหตุอันสมควร
มาตรา11 ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงวุฒิพ้นจากตำแหน่งก่อนครบวาระ ให้รัฐมนตรีแต่งตั้งบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติเช่นเดียวกันตามมาตรา 7 เป็นกรรมการแทน
มาตรา12 ในกรณีที่กรรมการผู้ทรงวุฒิพ้นจากตำแหน่งก่อนครบวาระ แต่ยังมิได้มีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใหม่ ให้ปฏิบัติหน้าที่ไปพลางก่อน
มาตรา7ให้มีคณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่งชาติ ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นประธาน ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมสังคมและความมั่งคงมนุษย์
มาตรา13 การประชุมคณะกรรมการต้องมีการประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมดจึงเป็นองค์ประชุม
มาตรา15 คณะกรรมการมีอำนาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อปฏิบัติการตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
มาตร ดังต่อไปนี้า14 คณะกรรมการมีอำนาจและหน้าที่
เสนอความคิดเห็นต่อรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงและระเบียบ
วางระเบียบโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลังเกี่ยวกับการเงิน
เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเกี่วกับนโนบาย
วางระเบียบเกี่ยวกับวิธีการดำเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็มตามมาตรา 47
ติดตาม ประเมินผล
ดำเนินการอื่นใดที่เกี่ยวกับการสงเคราะห์
วางกฎเกณฑ์ในการแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่
ให้คำปรึกษา แนะนำ และประสานงานแก่หน่วยงานของรัฐและเอกชน
มาตรา17 ให้มีคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด
มาตรา16 ให้มีคณะกรรมการคุ้มครองเด็กกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการ เป็นต้น และแต่งตั้งจากผู้มีประสบการณ์ด้านสวัสดิการเด็กอีกสองคน
หมวด2 การปฏิบัติต่อเด็ก
มาตรา26 ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งกฎหมายอื่น ไม่ว่าเด็กยินยอมหรือไม่ ห้ามมิให้ผู้ใดกระทำการ
มาตรา27 ห้ามมิให้ผู้ใดโฆษณาหรือเผยแพร่ทางสื่อมวลชน
มาตรา25 ผู้ปกครองต้องไม่กระทำความผิดต่อเด็ก
มาตรา28 ในกรณีผู้ปกครองตกอยู่ในสภาพไม่อาจให้การอุปการะเลี้ยงดู
มาตรา 24 ปลัดกระทรวงมีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่อยู่ในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ
มาตรา29 ผู้ใดพบเห็นเด็กตกอยู่ในสภาพจำต้องได้รับการสงเคราะห์หรือคุ้มครองสวัสดิภาพตามหมวด3 และหมวด 4 พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ
มาตรา23 ผู้ปกครองต้องให้การอุปการะเลี้ยงดู
มาตรา30 เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามหมวด 3 และหมวด 4มีอำนาจและหน้าที่
มาตรา22การปฏิบัติต่อเด็กไม่ว่ากรณีใด
หมวด3 การสงเคราะห์เด็ก
มาตรา34 ผู้ปกครองหรือญาติของเด็ก อาจนำเด็กไปขอรับการสงเคราะห์ที่กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
มาตรา37 เมื่อสถานแรกรับ สถานการณ์ ให้ผู้ปกครองรีบสืบเสนาะและพินิจเกี่ยวกับตัวเด็ก
มาตรา32 เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์ เด็กเร่รอน กำพร้า
มาตรา39 ในกรณีที่ผู้ปกครองไม่สามารถดูแลเด็กได้ ปลัดกระทรวงสามารถเรียกมาตักเตือน หรือทำโทษทัณฑ์
มาตรา35 เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้ที่มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กตามมาตรา 24 ให้สอบถามเพื่อทราบข้อมูลเกี่ยวกับเด็ก ถ้าเด็กเจ็บป่วยหรือจำต้องตรวจสุขภาพหรือเป็นเด็กพิการต้องรีบจัดให้มีการตรวจรักษาทางร่ายกายและจิตใจ
มาตรา36 ในระหว่างที่เด็กได้รับการสงเคราะห์ตามมาตรา33 ให้ปลัดกระทรวงหรือผู้ว่าจังหวดมีอำนาจสั่งให้ใช้มาตรการคุ้มครองสวัสดิภาพแก่เด็กตามหมวด 4 ได้
มาตรา33 ในกรณีพนักงานเจ้าหน้าที่มีหน้าที่คุ้มครองเด็กตามมาตรา24 ได้รับแจ้งจากบุุคคล29ให้พิจารณาให้การสงเคราะห์ตามวิธีการที่เหมาะสม
มาตรา38 ในกรณีที่ปลัดกระทรวงสั่งให้เด็กเข้าสงเคราะห์ ถ้าผู้ปกครองไม่ยิมยอม สามารถแจ้งดำเนินคดีได้
หมวด4 การคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
มาตรา43 กรณีที่ผู้ปกครองหรือญาติของเด็กเป็นผู้กระทำทารุณต่อเด็ก ถ้ามีการฟ้องร้อง ศาลจะทำการมิให้ผู้ปกครองเข้าใกล้เด็ก
มาตรา44 เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้มีหน้าที่คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กตามมาตรา 24พบเห็นหรือได้รับแจ้งจากผู้พบเห็นเด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิดให้สอบถามเด็กและดำเนินการหาข้อเท็จจริง
มาตรา42 การดำเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กตามมาตรา41 วรรณสอง ต้องรีบจัดให้มีการตรวจรักษาทางร่างกายและจิตใจ
มาตรา46 ในกรณีที่ผู้ปกครองไม่เห็นด้วยให้ฟ้องคดี มาตรา5 ภายใน 120วันนับตั้งแต่วันรับทราบคำสั่ง
มาตรา40 เด็กที่พึงได้รับการคุ้มครองสวัสดิภาพ เด็กทารุณ เด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิด
มาตรา47 วิธีการดำเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
หมวด5 ผู้คุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
มาตรา48 ในการดำเนินการสงเคราะห์ คุ้มครองสวัสดิภาพ ถ้าพนักงานเจ้าหน้าที่เห็นว่าเป็นเหตุสมควรแต่งตั้งผู้คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กเพื่อกำกับดูแลเด็กคนใด ก็ให้ยื่นคำขอจากปลัดกระทรวง
มาตรา49 ผู้คุ้มครองสวัสดิภาพเด็กมีอำนาจและหน้าที่ เยี่ยมเยียน ให้คำปรึกษา และแนะนำแก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับเรื่องการอบรม
หมวด6 สถานรัเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพและสถานพัฒนาและฟื้นฟู
มาตรา56 ผู้ปกครองสวัสดิภาพของสถานที่แรกรับมีอำนาจและหน้าที่
มาตรา59 ผู้ปกครองมีหน้าที่ปกครองดูแลเด็ก
มาตรา54 ให้ปลัดกระทรวงและผู้ว่าจังหวัด มีอำนาจแต่งตั้งหรือถอดถอนผู้ปกครองสวัสดิภาพของสภาพแรกรับ
มาตรา57 ผู้รับใบอนุญาตและผู้ปกครองต้องคุ้มครองเด็ก
มาตรา 53 ให้ปลัดกระทรวง ผู้ว่าราชการจังหวัด คณะกรรม
มาตรา58 ผู้ปกครองมีหน้าที่ดูแลเด็ก
มาตรา52 ภายใต้บังคับของมาตรา 51 ผู้ใดจะจัดตั้งสถานับเลี้ยงเด็ก ต้องขอรับใบอนุญาตต่อปลัดทรวง
มาตรา60ผู้ปกครองสวัสดิภาพของสถานพัฒนาและฟื้นฟูมีอำนาจและหน้าที่ รับเด็ก
มาตรา51ปลัดกระทรวงมีอำนาจจัดตั้งสถานรับเลี้ยงเด็ก
มาตรา62 ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ หรือตามที่ได้รับมอบหมายจากปลัดกระทรวงหรือผู้ว่าราชการจังหวัด
มาตรา61 ห้ามมิให้เจ้าของ ผู้ปกครองสวัสดิภาพ ทำร้ายร่างกาย หรือลงโทษเด็กที่อยู่ในความปกครองดูแลโดยวิธีการรุนแรง
หมวด7 การส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา
มาตรา63 โรงเรียนและสถานศึกษาต้องจัดให้มีระบบและกิจกรรมในการแนะแนวให้คำปรึกษาและฝึกอบรมแก่เด็ก นักศึกษา และผู้ปกครอง
มาตรา64นักเรียนและนักศึกษาต้องพฤติตนตามระเบียบของโรงเรียน
มาตรา65 นักเรียนหรือนักศึกษาผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา64ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามระเบียบที่รัฐบาลกำหนด
มาตรา66 พนักงานเจ้าหน้าที่หมวดนี้มีอำนาจดำเนินการเพื่อส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา
มาตรา67 ในกรณีมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีการฝ่าฝืนกฎหรือระเบียบเกี่ยวกับความประพฤติของนักเรียนหรือนักศึกษาในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตก ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัว
หมวด8 กองทุนคุ้มครองเด็ก
มาตรา74 การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน
มาตรา75ให้คณะกรรมการติดตามและประเมินผล
มาตรา73 ให้คณะกรรมการการบริหารกองทุนมีอำนาจหน้าที่บริหารกองทุน
มาตรา76 คณะกรรมการติดตามและประเมินผลตามมาตรา75 มีอำนาจหน้าที่ รายงานผลการปฏบัติงาน
มาตรา72 ให้นำบทบัญญัติมาตรา9 มาตรา10 มาตรา11 มาตรา12 มาตรา13 และมาตรา15 มาใช้บังคับกับการดำรงตำแหน่ง
มาตรา71 ให้มีคณะกรรมการบริหารกองทุนคณะหนึ่ง
มาตรา70 เงินและดอกผลที่กองทุนได้รับตรามาตา 69
มาตรา69 กองทุน ที่รัฐจัดสรรให้
มาตรา68 ให้รัฐบาลจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์เรียกว่า กองทุนคุ้มครองเด็ก
มาตรา77 ให้คณะกรรมการบริหารกองทุนจัดทำงบดุลและบัญชีทำการส่งผู้สอบบัญชีตรวจสอบภายใน120วันนับแต่วันสิ้ปีบัญชีทุกปี
หมวด9บทกำหนดโทษ
มาตรา79 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 27มาตรา50 หรือมาตรา 61 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 หรือปรับไม่เกิน60000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา80 ผู้ใดขัดขวางไม่ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติตามมาตรา 30 (1)หรือ(5)ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 หรือปรับไม่เกิน10000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา78 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 26 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 หรือปรับไม่เกิน30000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา83 เจ้าของหรือผู้ปกครองสวัสดิภาพของสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ หรือสถานพัฒนาและฟื้นฟูผู้ใดไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 หรือปรับไม่เกิน10000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา82 ผู้ใดจัดตั้งหรือดำเนินกิจการสถานรับเลี้ยงเด็ก สถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ หรือสถานพัฒนาและฟื้นฟูตามมาตรา 52โดยมิได้รับอนุญาตหรือใบอนุญาติถูกเพิกถอนหรือหมดอายุ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 หรือปรับไม่เกิน10000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา81 ผู้ใดฝ่าฝืนข้อกำหนดของศาลในการคุมความประพฤติห้ามเข้าเขตกำหนด หรือห้ามเข้าใก้ลตัวเด็กมาตรา 43 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1หรือปรับไม่เกิน10000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา84 ผู้ใดกระทำการเป็นผู้ปกครองสวัสดิภาพของสถานแรกรับ สถานสงเคราะห์ สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ และสถานพัฒนาและฟื้นฟูโดยมิได้รับแต่งตั้งตามมาตรา 55 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 หรือปรับไม่เกิน10000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา86 ผู้ใดไม่อำนวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา 67 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 หรือปรับไม่เกิน10000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา85 ผู้ใดกระทำการยุยง ส่งเสริม ช่วยเหลือ หรือสนับสนุนให้นักเรียนหรือนักษาฝ่าฝืนบทบัญญัติตามมาตรา 64 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 หรือปรับไม่เกิน30000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
นางสาวนุชนาฎ เพ็ชรหนู 6220160354 เลขที่ 9