Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ที่มีความผิดปกติทางจิตเวช - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
ที่มีความผิดปกติทางจิตเวช
Autistic disorders
แสดงออกทางอารมณ์ไม่เหมาะสม เช่น ร้องไห้โดยไม่มีสาเหตุ
มักพบในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง
การประเมินเด็กออทิสซึม
ความบกพร่องทางภาษาและการสื่อสาร
มีพฤติกรรมซํ้าๆ
1.ความบกพร่องของปฎิสัมพันธ์ทางสังคม
ปัจจัยส่งเสริมและปัจจัยกระตุ้น
Biological factors
พบความผิดปกติของสมอง imbic system ทีeควบคุมความจำ
อารมณ์ การเรียนรู้และแรงจูงใจ และcerebellum
ซีโรโทนิน (seretonin) สูง
Pycho-socioculural factors
เป็นปัจัจัยเสริมให้มีอาการ หรือเป็นปัจจัยช่วยให้อาการดีขึ้น
แนวทางการบำบัดรักษา
การบำบัดทางภาษา
สอนเปล่งเสียง การสร้างประโยค และคำศัพท์
การบำบัดเพื่อพัฒนาทักษะทางสังคม
การจัดการศึกษาพิเศษ
การช่วยเหลือครอบครัว
การใช้ยา ใช้ตามอาการ เช่น methylphenidate, haloperidol
Attention Deficit Hyperactivity Disorders : ADHD
ลักษณะของเด็ก
พบมากในเด็กและวัยรุ่น ทำให้เกิดปัญหาทางพฤติกรรมและการเรียน
อาการสำคัญ 3 กลุ่ม
1.กลุ่มอาการขาดสมาธิ (inattention) ไม่มีสมาธิ
ไม่รอบคอบ ทำงานผิดพลาด
กลุ่มอาการอยู่ไม่นิ่ง (hyperactivity) ยุกยิก อยู่ไม่สุข ชอบลุกจากที่นั่ง วิ่ง ปีนป่าย
กลุ่มอาการหุนหันพลันแล่น (impulsivity) โพล่งคำตอบออกมาก่อนคำถามจบ ใจ
ร้อน
ปัจจัยส่งเสริม
Biological factors
เกี่ยวข้องกับพันธุกรรมมากถึงร้อยละ 76
มีความผิดปกติของสมองส่วนหน้า (frontal lope) และบริเวณdorsolateral prefrontal cortex ซึ่งเป็นสมองส่วนที่ควบคุมการจัดการกับอารมณ์
โดปามีน และซีโรโทนิน ทำงานผิดปกติ
Psycho-socioculural factors
ครอบครัวที่มีความเครียด มีปัญหาในชีวิตสมรส และการใช้สารเสพติดมีส่วนเกี่ยวข้องกับภาวะ ADHD
มักพบ ADHDในครอบครัวเศรษฐานะต่ำ อยู่ในชุมชนแออัด และการทำหน้าที่ของครอบครัวผิดปกติ
แนวทางการรักษา
การจัดการกับอาการ การให้ความรู้ และการช่วยเหลือประคับประคองจากสหสาขาวิชาชีพเพื่อคงไว้ซึ่งคุณภาพชีวิต
การรักษาที่ดีควรเริ่มเร็วที่สุด ด้วยการรักษาด้วยยา พฤติกรรมบำบัด
ยาที่ใช้รักษา คือ ยาที่กระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง(psychostimulant) เช่น Ritalin Bupropion
การพยาบาลด้านร่างกาย
ดูแลเรื่องอาหาร เน้นการเลี่ยงอาหารที่อาจเกิดอาการแพ้
แนะนำให้เด็กรับประทาน Feingold diet
อาหารที่แนะนำ คือ อาหารจากธรรมชาติปราศจากสารเคมี เช่น ผัก ผลไม้
ดูแลเรื่องการนอน ผลของยาที่ใช้รักษา ADHA
การพยาบาลด้านจิตใจและพฤติกรรม
บอกข้อจำกัดด้วยคำพูดและคำสั่งง่ายๆที่ชัดเจน
จัดสิ่งแวดล้อมที่มีกฎระเบียบชัดเจน ทั้งกิจกรรมการกิน การนอน และการเล่น
จัดให้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่สงบและมีสิ่งเร้าให้น้อยที่สุด เพื่อสร้างสมาธิและความตั้งใจ
สบตาเด็กก่อนออกคำสั่ง ให้เด็กพูดซ้ำสิ่งที่ได้ยิน
ช่วยให้เด็กได้ทำการบ้านในที่สงบ ไม่มีบุคคลพลุกพล่านช่วยในรายละเอียดของงาน
การพยาบาลด้านสังคม
เน้นการบำบัดทางความคิด (Cognitive behavior therapy)
Mental Retardation
ลักษณะของเด็ก
IQต่ำกว่า70
มีอาการเริ่มเป็นก่อนอายุ18 ปี ร่วมกับมีพัฒนาการช้าและบกพร่องเกี่ยวกับการปรับตัวเพื่อทำหน้าอย่างอื่น
ประเภท
Mild MR: พบ 85 %เรียนได้ถึงประถม ปฏิบัติการดีกว่าวิชาการ แยกยากในวัยก่อนเรียน
Moderate MR: เรียนได้ถึง ป 1-2 แยกได้ก่อนวัยเรียน ใช้ชีวิตในบ้านภายใต้การดูแล
Severe MR: พบโรคทางกายและความบกพร่องร่วม ช่วยเหลือตนเองขั้นพื้นฐานได้บ้าง ต้องดูแลใกล้ชิดตลอดชีวิต
Profound MR: พบ 1-2 % ล่าช้าทุกด้าน ต้องดูแลใกล้ชิด อายุขัย 20 ปี
ปัจจัยนำ
Biological Factors
เกิดจากกรรมพันธุ์ เช่น โรค Down syndrome
ภาวะแทรกซ้อนก่อนและหลังคลอด
การติดเชื้อ บาดเจ็บสมอง
Psychosocial Factors
ขาดการดูแลและกระตุ้นที่เหมาะสม จากผู้ดูแลครอบครัว สิ่งแวดล้อม
แนวทางการบำบัดรักษา
ช่วยเหลือผู้ป่วยสามารถให้ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมให้ใกล้เคียงกับคนปกติมากที่สุด
การกระตุ้นพัฒนาการให้เร็วที่สุด
การรักษาโรคทางกายที่เป็นสาเหตุ หรือพบร่วม เช่น Hypothyroidism หรือHydrocephalus
การรักษาด้วยยา ควรเริ่มต้นขนาดต่ำๆ และค่อยๆเพิ่มขนาดยา ควรระมัดระวังผลข้างเคียงของการได้ยาต้านโรคจิต และยาคลายกังวลกลุ่ม benzodiazepine
การทำจิตบำบัดเน้นการการปรับตัวทางสังคมให้ผู้ป่วยยอมรับขอจำกัด ให้คำปรึกษาครอบครัวเรื่องแนวทางการดูแล การปรับพฤติกรรม การช่วยเหลือด้านจิตใจบุคคลในครอบครัว
การฝึกอาชีพและให้การศึกษาแก่ผู้ป่วย
ควรมีแผนการศึกษารายบุคคลเฉพาะผู้ป่วย เพื่อให้เหมาะสมกับความสามารของผู้ป่วยแต่ละคน
แพทย์จะรับรองการออกหนังสือรับรองความพิการ พ.ร.บ ฟื้นฟูคนพิการ ปี พ.ศ 2534เพื่อให้มีโอกาสทางสังคมหรือดำรงชีวิตได้เหมือนคนปกติ
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพ อาจต้องเริ่มตั้งแต่ อายุ 15-18 ปี เพื่อการประกอบอาชีพในอนาคต อาชีพที่ผู้มีภาวะบกพร่องทางสติปbญญาทำได้ คือ อาชีพงานบ้าน งานบริการ งานในโรงงาน งานในสำนักงาน เช่น ถ่ายเอกสาร รับส่งหนังสือ
Conduct disorder
ลักษณะของเด็ก
A.มีแบบแผนพฤติกรรมที่เป็นซํ้าๆ และคงอยู่ตลอด โดยละเมิดต่อสิทธิพื้นฐานของคนอื่นหรือต่อกฎบรรทัดฐานที่สำคัญๆ ของวัยนั้นๆมีอาการ 3 ข้อหรือมากกว่าจากเกณฑ์ต่อไปนี้ ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา โดยอย่างน้อย มีหนึ่งข้อ ปรากฏในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา
ก้าวร้าวต่อคนหรือสัตว์
ทำลายทรัพย์สิน
ฉ่อโกงหรือขโมย
ละเมิดกฎอย่างรุนแรง
B. พฤติกรรมผิดปกตินี้ก่อใหbกิจกรรมด้านสังคม การศึกษา หรือการงานบกพร่องลงอย่างมีความสำคัญทางการแพทย์
C. ถ้าอายุ 18 หรือมากกว่า ต้องไม่เข้าเกณฑ์ของ Antisocial Personality Disorder
คือ ลักษณะพฤติกรรมที่ละเมิดต่อสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้อื่น หรือละเมิดต่อกฎระเบียบและบรรทัดฐานทางสังคมที่สำคัญตามวัยนั้นๆ
ปัจจัยนำ
Biological Factors
พันธุกรรม
ความผิดปกติของสมอง
เชาว์ปัญญา
การเป็น ADHD
พื้นอารมณ์
Psychosocial Factors
เกิดจากการถูกปฏิเสธจากพ่อแม่
การเลี้ยงดูที่ไม่สม่ำเสมอและขาดวินัย
ไม่ได้อาศัยอยู่ที่บ้านกับพ่อแม่
การขาดพ่อหรือมีพ่อติดสุราสมาชิกในครอบครัวติดสารเสพติดและมีพฤติกรรมต่อต่านสังคม
แนวทางการรักษา
พฤติกรรมบำบัด จิตบำบัด ครอบครัวบำบัด
การให้คำปรึกษาเรื่องการเลี้ยงดู
การรักษาด้วยยา เด็กต้องอยู่ในความดูแลของจิตแพทย์เด็ก
การพยาบาล
การพยาบาลจะมุ่งเน้นที่การปรับพัฒนาการด้านบุคลิกภาพที่เป็นปัญหาซึ่งจะเกี่ยวข้องกับวุฒิภาวะการปรับตัวและการเผชิญปัญหา ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่องและใช้เวลา
อาจต้องให้รักษาตัวในโรงพยาบาลเพื่อการดูแลในภาวะวิกฤติ การประเมินและการวางแผนการรักษาหรือ การส่งต่อเด็กให้ได้รับการดูแลระยะยาวในสถานที่พักพิง หรือมูลนิธิเด็ก
• การฝึกทักษะทางสังคม (Social skills training)เพื่อพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลทักษะอื่นๆในการเข้าสังคมและสร้างความรู้สึกเห็นคุณค'าในตนเอง
การให้ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับเด็กและวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเกเรต่อต้านสังคม