Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ออทิสติก Autism Spectrum Disorder - Coggle Diagram
ออทิสติก Autism Spectrum Disorder
แนวทางการช่วยเหลือ
การสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคลให้เกิดความไว้วางใจ ให้ความรักความอบอุ่น ตอบสนองความ
ต้องการการดูแลของเด็กทุกด้าน
จัดสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดจาการมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมกับตนเองและ
ผู้อื่น
ส่งเสริมพัฒนาการทางสังคม ให้เด็กมีความมั่นใจในการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นจัดให้อยู่ใน
สิ่งแวดล้อมที่คุ้นเคย มีการชมเชย ให้รางวัลเมื่อมีพฤติกรรมที่เหมาะสม
ส่งเสริมพัฒนาการการเข้าใจตนเอง
ดูแลด้านครอบครัวให้ความรู้แก่มารดาในการดูแลเด็ก ความคาดหวังในพฤติกรรมของเด็ก การ
เผชิญความเครียดของครอบครัวกระตุ้นให้มีการระบายความรู้สึก สนับสนุนให้ผ่านพ้นภาวะวิกฤตเศร้าโศก ให้
ยอมรับสภาพความเป็นจริงมีก่าลังใจที่เข้มแข็งในการดูแลเด็ก ร่วมก่าหนดเป้าหมายในการดูแลเด็ก สิทธิของ
เด็ก การสร้างเครือข่ายในชุมชน
ดูแลการได้รับยากระตุ้นการท่างานระบบประสาท Methyphenidate HCl,
Dextroamphetamineยากันชัก Sodium Volprote ยาต้านโรคจิต Haloperidal Thioridazine ยาต้าน
อาการซึมเศร้า Imipramine Fluoxetineยาลดความวิตกกังวล Lorazepam กรณีที่เด็กมีความวิตกกังวล
ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต้อระวังอาการข้างเคียงของยา
ลักษณะอาการทางคลินิก
ด้านพฤติกรรม มีการกระท่าและความสนใจในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ท่ากิริยาซ้ำๆการเคลื่อนไหวร่างกายซ้ำๆ หมุนมือ บิดมือ โยกตัว หมุนตัว เล่นของเล่นอย่างเดียว ไม่มีการเล่นสมมุติในบทบาทต่างๆหรือการเล่น
เลียนแบบ ชอบสนใจสิ่งที่เคลื่อนไหวตลอดเวลาเช่น พัดลม
ด้านสังคม การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ไม่สามารถเชื่อมโยงตนเองกับผู้อื่นและเหตุการณ์ได้ ไม่มี
ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น เช่นการสบตา การแสดงสีหน้าท่าทาง
ด้านการสื่อสาร มีความผิดปกติทางการสื่อสาร การพูด ท่าทางไม่สามารถสื่อความหมายด้วย
ท่าทางได้ พูดช้า
จุดมุ่งหมายการรักษาที่สำคัญมี 4 ประการ
การส่งเสริมโดขการกระตุ้นให้เด็กมีพัฒนาการเป็นปกติ โคยการ ฝึกให้เด็กได้ทำซ้ำ ๆในกิจกรรมเช่นนี้ทุกวัน เช่น ให้เล่นเป็นอิสระสัก 10 นาที ต่อมาก็สอนให้เด็กทักทายกันเองหรือทักทายผู้ปกครองใช้เวลา 10นาที จึงให้ร่วมกับกิจกรรมเข้าจังหวะ
การช่วยเหลือเด็กด้วยการลดพฤติกรรมซ้ำๆและใช้หลักพฤติกรรมบำบัด โดยใช้วิธีลดการกระทำของเด็กทีละน้อย โดยค่อยๆ เบี่ยงเบนออกไป (Graed change) และนำเอาการกระทำคุ้นอย่างอื่นที่จะให้เด็กเรียนรู้เข้ามาแทน
การช่วยหลือโดยการจัดปัญหาด้านพฤติกรรมที่ผิดปกติต่างๆ เช่นอาการหวาดกลัวการก้าวร้าวอย่างไม่มีเหตุผล และการทำร้ายตนเอง โดยใช้หลักพฤติกรรมบำบัด
การช่วยเหลือด้วยการบรรเทาความครียดในครอบครัว โดยใช้วิธีการใช้คำปรึกษา (Counscling methods) และการทำจิตบำบัดแบบประคับประคอง (Supportive Psychotherapy
ความหมายออทิสติก
ออทิสติก เป็นความผิดปกติของพัฒนาการเด็กรูปแบบหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตัว โดยเด็กไม่สามารถพัฒนาทักษะทางสังคมและการสื่อความหมายได้เหมาะสมตามวัย มีลักษณะพฤติกรรม กิจกรรม และความสนใจ เป็นแบบแผนซ้ำๆ จำกัดเฉพาะบางเรื่อง และไม่ยืดหยุ่น ปัญหาดังกล่าวเป็นตั้งแต่เล็ก ส่งผลให้เกิดข้อจำกัดในการดำรงชีวิต
แบบประเมินที่ใช้
แบบคัดกรองบุคคลออทิสติก (ของ สพฐ.)
แบ่งเป็นพัฒนาการ 3 ด้าน ต้องตอบว่าใช่ในทุกด้านของพัฒนาการ อย่างน้อยด้านละ 2 ข้อ ขึ้นไป ได้แก่ ด้านพฤติกรรม / อารมณ์ ด้านการสื่อความหมาย ด้านสังคม
ทั้งหมด 16 ข้อ
เป็นแบบจำแนกทางการศึกษา
เป็นลักษณะหรือพฤติกรรมที่เด็กแสดงออกบ่อยๆ
ผู้ทำการคัดกรองเบื้องต้นคือผู้ที่อยู่ใกล้ชิดเด็กมากที่สุด
KUSSI Rating Scales ส่วนของ Autism(PDDs)
อายุระหว่าง 6-13 ปี 11 เดือน
ใช้คัดกรองนักเรียนชั้น ป.1-6
ใช้สำหรับคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะออทิสติก
แบ่งออกเป็น 3 องค์ประกอบ ได้แก่ ด้านการสื่อสาร
ด้านพฤติกรรม และด้านสังคม
มีข้อค าถาม 40 ข้อ
แบบสำรวจพัฒนาการเด็ก (PDDSQ) ช่วงอายุ 4-18 ปี
หากได้คะแนนรวมตั้งแต่ 13 คะแนนขึ้นไป ถือว่าเสี่ยงที่จะเป็น PDDs. (โรคออทิสติก โรคเร็ทท์ ความผิดปกติในพัฒนาการในวัยเด็ก โรคเอสเปอรเกอร และความผิดปกติในพัฒนาการที่ไม่ทราบสาเหตุ )
ผู้ทำการคัดกรองเบื้องต้นคือผู้ที่อยู่ใกล้ชิดเด็กมากที่สุด
ประเมินลักษณะหรือพฤติกรรมที่เด็กแสดงออกบ่อยๆ
มีทั้งหมด 25 ข้อ
สาเหตุ
สาเหตุด้านร่างกาย
12 เด็กออติสติกมีประวัติมารคมีกาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์และการคลอด
1.1 เค็กออติสติกประมาณ 13 มีความผิดปกติที่สมองส่วนกลาง และระบบประสาทซึ่งเเสดง
ออกถึงความผิดปกติของการรับรู้ความจำและสติปัญญา
1.3 มีการถ่ายทอดทางพันรุกรรม ถือ พบอัตราการเป็นโรคจิตในพี่น้องเคียวกันในอัตรา
1:50 ซึ่งพบในคนปกติทั่วไป 1:2,500
สาเหตุด้านสิ่งแวดล้อม
มีนักทฤษฎีหลายท่านเชื่อว่า พ่อแม่ของเด็กออติสติกมีบุคลิกภาพผิดปกติ คือ มักเป็นดนอารมณ์เฉยเมย เข็นชา เจ้าระเบีขบ มีฐานะและการศึกษาดี เอาใจใส่งานมากกว่าลูกของตนทำให้เด็กขาดสัมพันธภาพที่ดีต่อบุคคล ส่วนศาสตราจรย์คนเนร์ และคณะ กล่าวว่า พ่อแม่ของเด็กมักเป็นคนฉลาดหลักแหลมเข้มงวดไม่มีอารมณ์ขัน และไม่มีเวลาให้กับลูก แต่เรื่องเหล่านี้ก็ยังไม่การยืนยันที่แน่นอน
การวินิจฉัยโดยใช้ DSM V
A. บกพร่องอย่างชัดเจนในการสื่อสารทางสังคม และการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ในหลากหลายบริบทโดยแสดงออก
1) บกพร่องในการตอบสนองทางอารมณ์และสังคม (social-emotional reciprocity)
2) บกพร่องในการใช้ภาษาท่าทาง เพื่อการสื่อสารทางสังคม
3) บกพร่องในการพัฒนา คงไว้ และเข้าใจในสัมพันธภาพ
B. มีแบบแผนพฤติกรรม ความสนใจ หรือกิจกรรมที่จำกัด ซ้ำๆ โดยแสดงออกอย่างน้อย 2 ข้อ
1) โยกไปโยกมา (stereotyped) หรือมีการเคลื่อนไหว พูดจา หรือใช้วัตถุสิ่งของซ้ำๆ
2) แบบแผนคำพูดหรือพฤติกรรม ไม่ยอมเปลี่ยนแปลงไปจากกิจวัตรที่เคยทำไม่ยืดหยุ่น
3) ความสนใจในสิ่งต่างๆ มีจำกัด และยึดติดอย่างมาก ซึ่งเป็นภาวะที่ผิดปกติทั้งในแง่ของความรุนแรงหรือสิ่งที่สนใจ
4) ระบบรับสัมผัสไวเกินหรือเฉื่อยเกิน หรือสนใจตัวกระตุ้นระบบรับสัมผัสอย่างไม่เหมาะสม
C. อาการแสดงออกในช่วงแรกของวัยแห่งการพัฒนา (early developmental period