Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พัฒนาการรัฐไทยก่อนสมัยประวัติศาสตร์ - Coggle Diagram
พัฒนาการรัฐไทยก่อนสมัยประวัติศาสตร์
สมัยสุโขทัย
สมัยสุโขทัยตอนต้น (พ.ศ. 1792-1841)
เป็นการปกครองแบบพ่อปกครองลูก
สมัยสุโขทัยตอนปลาย (พ.ศ. 1841-1981)
เป็นการปกครองแบบธรรมราชา
การปกครองราชธานีและหัวเมือง
แบ่งเป็น4ชั้น
เมืองลูกหลวง
เมืองพระยามหานคร
เมืองหลวง หรือราชธานี
เมืองประเทศราช
เศรษฐกิจ
เป็นระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมด้วยระบบการเกษตรแบบพึ่งพาธรรมชาติ
การสิ้นสุดอาณาจักร
หลังจากชนะศึกที่แม่น้ำสะโตงแล้วได้ย้ายเมืองมาที่อยุธยาเพื่อเตรียมรับศึกใหญ่พิษณุโลกและหัวเมืองอื่นๆจึงกลายเป็นเมืองร้างจึงถือเป็นจุดสิ้นสุดของสุโขทัยโดยสมบูรณ์
สมัยอยุธยา
สมัยอยุธยาตอนกลาง พ.ศ. 1991 – 2072
การปกครองส่วนกลาง
หน่วยงานระดับกรมทางการปกครอง 6 กรม
กรมวัง
กรมเมือง
กรมคลัง
กรมกลาโหม
กรมนา
กรมมหาดไทย
การปกครองส่วนภูมิภาค
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดฯ ให้ยกเลิกเมืองหน้าด่านหรือเมืองลูกหลวง ให้จัดการปกครอง
หัวเมืองในส่วนภูมิภาค
เมืองประเทศราช
โปรดฯ ให้มีการจัดการปกครองเหมือนเดิม คือ ให้มีเจ้านายในท้องถิ่น เป็นเจ้าเมือง หรือกษัตริย์ มีแบบแผนขนอบธรรมเนียมเป็นของตนเอง
หัวเมืองชั้นนอก
ได้แก่ เมืองที่อยู่ถัดจากหัวเมืองชั้นในออกไป (ซึ่งเป็นเมืองพระยามหานครในสมัยก่อน)จัดเป็นหัวเมืองชั้นตรี โท เอก ตามขนาดและความสำคัญของเมืองนั้นๆ
หัวเมืองชั้นใน
จัดเป็นเมืองชั้นจัตวา ผู้ปกครองเมืองเรียกว่า “ผู้รั้ง” ไม่มีอำนาจอย่างเจ้าเมือง ต้องปฏิบัติตามคำ สั่งของราชธานี
สมัยอยุธยาตอนปลาย พ.ศ. 2072 – 2310
เป็นการปกครองแบบการปกครองแบบรวมอำนาจเข้าสู่ส่วนกลาง
มีการยกเลิกการแยกความรับผิดชอบงาน
โดยให้สมุหกลาโหมรับผิดชอบทั้งด้านทหารและพล เรือน
สมัยอยุธยาตอนต้น พ.ศ. 1893 – 1991
ปกครองส่วนกลาง จัดการบริหารแบบจตุสดมภ์
แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบเป็นกรมสำคัญ 4 กรม
กรมเวียง
กรมวัง
กรมนา
กรมคลัง
การปกครองส่วนภูมิภาค
จัดตามแบบอาณาจักรสุโขทัย
มืองหน้าด่าน
หัวเมืองชั้นใน
หัวเมืองชั้นนอก
เมืองประเทศราช
เศรษฐกิจ
มีการเก็บภาษีอย่างเข้มงวดมาก
ส่วนสินค้าขาเข้าที่รัฐบาลผูกขาด
ได้แก่ ถ้วยชาม อาวุธ ดินปืน กำมะถัน
การสิ้นสุดของอาณาจักรอยุธยา
เกิดการแย่งชิงราชสมบัติของกษัตริย์กันอย่างบ่อยครั้ง
อีกทั้งไม่สนับสนุนให้แม่ทัพนายกองที่มีความสามารถ
ออกมาสู้รบป้องกันประเทศ
สมัยรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ 1 ถึง รัชกาลที่ 3)
การปกครอง
ทรงแบ่งการปกครองพระราชอาณาเขตออกเป็น 3 ส่วน
การปกครองหัวเมือง
หัวเมืองชั้นใน
ถือเป็นเมืองบริวารของเมืองหลวง ไม่มีศักดิ์เป็นเมืองอย่างแท้จริง เพราะไม่มี เจ้าเมือง มีเพียงผู้รั้ง ซึ่งไม่มีอำนาจอย่างเจ้าเมือง จะต้องฟังคำสั่งจากเมืองหลวง
หัวเมืองชั้นนอก
เจ้าเมืองของเมืองเหล่านี้มีอำนาจสิทธิ์ขาดในเมืองของตน แต่ต้องปฏิบัติตามพระบรมราชโองการและนโยบายของรัฐบาลที่เมืองหลวง ตามเขตการรับผิดชอบ
การปกครองประเทศราช
ประเทศราชของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ได้แด่
1) ล้านนาไทย (เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง เชียงแสน)
2) ลาว (หลวงพระบาง เวียงจันทน์ จำปาศักดิ์)
3) เขมร
4) หัวเมืองมลายู (ปัตตานี ไทรบุรี กลันตัน ตรังกานู)
การปกครองส่วนกลาง
สมุหพระกลาโหม มียศและราชทินนามว่า เจ้าพระยามหาเสนา ใช้ตราคชสีห์เป็นตราประจำตำแหน่ง มีอำนาจบังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายใต้ทั้งด้านการทหารและพลเรือน
สมุหนายก ราชทินนามไม่ทรงกำหนดแน่นอน ที่ใช้อยู่ก็มี เจ้าพระยาจักรี บดินทร์เดชานุชิต รัตนาพิพิธ ฯลฯ ใช้ตราราชสีห์เป็นตราประจำตำแหน่ง มีอำนาจบังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายเหนือทั้งด้านการทหารและพลเรือน
จตุสดมภ์
กรมวัง
ใช้ตราเทพยดาทรงพระนนทิการ (พระโค) เป้นตราประจำตำแหน่ง มีหน้าที่ดูแลพระราชวังและตั้งศาลชำระความ
กรมคลัง
ใช้ตราบัวแก้วเป็นตราประจำตำแหน่งมีเสนาบดีดำรงตำแหน่งตามหน้าที่รับผิดชอบ คือ
ฝ่ายการเงิน ตำแหน่งเสนาบดีคือ พระยาราชภักดี
ฝ่ายการต่างประเทศ ตำแหน่งเสนาบดีคือ พระยาศรีพิพัฒน์
ฝ่ายตรวจบัญชีและดูแลหัวเมืองชายทะเลตะวันออก ตำแหน่งเสนาบดีคือ พระยาพระคลัง
กรมเวียง หรือ กรมเมือง
มีตราพระยมทรงสิงห์เป็นตราประจำตำแหน่ง มีหน้าที่ดูแลกิจการทั่วไปในพระนคร
กรมนา
ใช้ตราพระพิรุณทรงนาค เป็นตราประจำตำแหน่งมีหน้าที่ดูแลที่นาหลวง เก็บภาษีข้าว และพิจารณาคดีความเกี่ยวกับที่นา
กฎหมาย
การรวบรวมและชำระกฎหมายเก่า ที่ใช้กันมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา เมื่อได้ชำระเรียบร้อยแล้วโปรดเกล้าฯ ให้อาลักษณ์คัดลอกไว้เป็น 3 ฉบับ ทุกฉบับประทับตราคชสีห์ ตราราชสีห์ และตราบัวแก้ว ซึ่งเป็นตราประจำตำแหน่งสมุหพระกลาโหม สมุหนายก และพระยาพระคลัง เสนาบดีทั้งสามผู้มีอำนาจหน้าที่ในการปกครอง ดูแลหัวเมืองทั่วพระราชอาณาจักร กฎหมายฉบับนี้จึงมีชื่อว่า กฎหมายตราสามดวง
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจการค้าเริ่มเจริยรุ่งเรืองขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นก็คือได้มีการปรับปรุงจัดทำเงินตราขึ้นใหม่ให้มีจำนวนเพีงพอที่จะใช้เป็นสื่อในการแลกเปลี่ยนค้าขาย เงินตราที่ใช้ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นเงินพดด้วง
สมัยธนบุรี
การปกครองส่วนกลาง
พระมหากษัตริย์เป็นประมุขสูงสุดเปรียบเสมือนสมมุติเทพ
มีหัวหน้าบังคับบัญชาเสนาบดีจตุสดมภ์ 4 กรม
กรมวัง (ธรรมาธิกรณ์)ทำหน้าที่เกี่ยวกับกิจการภายในราชสำนักและพิพากษาอรรถคดี
กรมพระคลัง (โกษาธิบดี)ทำหน้าที่เกี่ยวกับการรับจ่ายเงินของแผ่นดิน และติดต่อ ทำการค้ากับต่างประเทศ
กรมเมือง (นครบาล)ทำหน้าที่เกี่ยวกับการปกครองภายในเขตราชธานี
กรมนา (เกษตราธิการ) ทำหน้าที่เกี่ยวกับเรือกสวนไร่นาและเสบียงอาหารตลอดจน ดูแลที่นาหลวง เก็บภาษีค่านา เก็บข้าวขึ้นฉางหลวงและพิจารณาคดีความเกี่ยวกับเรื่องโค กระบือ และที่นา
การปกครองส่วนภูมิภาค หรือ การปกครองหัวเมือง
การปกครองส่วนภูมิภาคหรือ การปกครองหัวเมือง
การปกครองส่วนภูมิภาคแบ่งออกเป็น หัวเมืองชั้นใน หัวเมืองชั้นนอก หัวเมืองประเทศราช
เศรษฐกิจ
การค้าขายนี้เป็นแบบเดียวกับสมัยอยุธยา คือ อยู่ภายใต้การดูแลของพระคลังสินค้า หรือกรมาท่า มีการส่งเสริมให้ราษฎรทำการเพาะปลูก ทำให้เศรษฐกิจของประเทศค่อยๆ ดีขึ้นตามลำดับ
การสิ้นสุดของอาณาจักรธนบุรี
เกิดเหตุจลาจลในปลายรัชกาลของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช คือ พระยาสรรค์ได้ตั้งตัวเป็นกบฏ ได้บุกมาแล้วบังคับให้พระองค์ผนวช ขณะนั้น สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกทรงทำศึกอยู่ที่กัมพูชา ทรงทราบข่าวจึงได้เสด็จกลับมายังกรุง ได้ปราบปรามจลาจลแล้ว สืบสวนหารือควรสำเร็จโทษสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี และโปรดเกล้าให้ย้ายราชธานีมายังฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา และในต่อมาได้พระราชทานนามใหม่ว่า กรุงรัตนโกสินทร์ สมเด็จพระมหาอุปราช เจ้าฟ้ากรมขุนอินทรพิทักษ์ พระราชโอรสพระองค์โตในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ถูกสำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์
บุคคลสำคัญ
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
: