Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารความขัดแย้ง Managing Conflict - Coggle Diagram
การบริหารความขัดแย้ง
Managing Conflict
ประเภทของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งภายในตัวบุคคล(Intrapersonal Conflict)
ความขัดแย้งระหว่างบุคคล(Interpersonal Conflict)
ความขัดแย้งภายในกลุ่ม (IntergroupConflict)
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม Intergroup Conflic
ความขัดแย้งในองค์กร(Intraoganizational Conflict)
ความขัดแย้งระหว่างองค์กร(Interoganizational Conflict)
ผลเสียหรือโทษของความขัดแย้ง
มีการแบ่งพรรคแบ่งพวกจนเกิดความไม่สงบสุขในองค์กร ขาดการประสานงานกันและไม่มีความร่วมมือร่วมใจในการทำงาน ซึ่งจะมีผลให้ประสิทธิภาพขององค์กรต่ำลง
มีการก้าวร้าว กดขี่และทำลายฝ่ายตรงกันข้าม
กลุ่มบุคคลหรือบุคคลฉวยโอกาสใช้ความขัดแย้งเป็นข้อเรียกร้องเพื่อสนองความต้องการของตน หรือเรียกร้องให้ผู้อื่นเกิดความสนใจ
มุ่งที่จะเอาชนะกันมากกว่าที่จะมองถึงผลกระทบต่อเป้าหมายขององค์กรโดยส่วนรวม
ความขัดแย้งจะนำไปสู่ความยุ่งเหยิง และไร้ซึ่งจำเจ ไม่มีความคิดสร้างสรรค์เสถียรภาพขององค์กร
ความขัดแย้งที่อยู่ในระดับต่ำมากจนทำให้สมาชิกขององค์กรเกิดความเฉื่อยชา รู้สึกซ้ำซาก
ประโยชน์ของความขัดแย้ง
ทำให้เกิดความคิดริเริ่มใหม่ๆนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในเชิงสร้างสรรค์
สมาชิกในองค์การได้แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
องค์กรได้มีการปรับปรุงและพัฒนางานให้ดีขึ้น
ทำให้เกิดแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆที่เป็นประโยชน์กับองค์การและทำให้คุณภาพของชีวิตการทำงานของบุคลากรในองค์การดีขึ้น
ได้มีการลดความตึงเครียดด้วยการระบายข้อขัดแย้งระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม ซึ่งเก็บกดไว้เป็นเวลานานหรือทำให้ความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์การดีขึ้น
สาเหตุของความขัดแย้ง
ความไม่ชัดเจนในการกำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของงาน
ลักษณะงานที่ต้องพึ่งพากัน
อุปสรรคของการติดต่อสื่อสาร
การแข่งขันเพื่อแย่งชิงทรัพยากรที่มีจำกัด
การควบคุมพฤติกรรม
ความแตกต่างของบุคคลในองค์กร
รูปแบบพฤติกรรมเมื่อมีความขัดแย้ง
การหลีกเลี่ยง (Avoiding)
การยินยอมให้ผู้อื่น (Accommodating)
การต่อสู้ หารแข่งขัน (Competing)
ความร่วมมือร่วมใจ (Collaborating)
การเจรจาต่อรอง หรือการประนีประนอม(Negotiating or Compromising)
วิธีการแก้ไขความขัดแย้ง
Avoidance (หลีกเลี่ยง)
เป็นการหลีกปัญหาที่นำไปสู่ความขัดแย้งและหลีกบุคคลที่มีแนวโน้มจะขัดแย้งด้วย
ปรกติแล้วคนที่ใช้แนวทางนี้จะเชื่อว่าหลีกเลี่ยงง่ายกว่าขัดแย้ง และไม่คิดว่าความขัดแย้งจะแก้ไขได้
ข้อดี คือ เป็นการรักษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
ข้อเสีย คือ ความขัดแย้งไม่ได้รับการแก้ไข และอาจทำให้สถานการณ์
ควรใช้เมื่อ
การเผชิญหน้าจะทำลายความสัมพันธ์ซึ่งเป็นเรื่องวิกฤตของการทำงาน
มีข้อจำกัดด้านเวลาซึ่งทำให้ต้องหลีกเลี่ยงการขัดแย้ง
ความขัดแย้งไม่สำคัญมากนัก
Accommodation (โอนอ่อน)
ลดปริมาณความขัดแย้งลงเพื่อความสัมพันธ์ในทีมจะได้ไม่มีปัญหา
เชื่อที่ว่าการนำเอาความขัดแย้งมาพูดจะทำลายความสัมพันธ์มากกว่าจะกระชับความสัมพันธ์
ยอมสละความคิดเห็นส่วนตัวเพื่อคงสายสัมพันธ์ของทีมไว้
ข้อดี คือ ยังรักษาความสัมพันธ์ไว้ได้
ข้อเสีย คือ อาจไม่เกิดผลในทางสร้างสรรค์
ควรใช้เมื่อ
การรักษาความสัมพันธ์สำคัญที่สุด
การตกลงเรื่องข้อเปลี่ยนแปลงไม่สำคัญมากนัก
สำหรับฝ่ายผ่อนปรนแต่สำคัญกับอีกฝ่ายหนึ่ง
เวลาในการแก้ไขความขัดแย้งมีจำกัด
ความหมายของความขัดแย้ง
ความไม่เห็นด้วยในเรื่องต่างๆ ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์กร อาจเป็นเรื่องเล็กน้อยจนถึงเรื่องที่มีความสำคัญมากอาจเกิดเป็นเวลาสั้นๆ หรือคงอยู่เป็นเดือนเป็นปี อาจเกี่ยวข้องกับงานหรือบุคคล แสดงให้เห็นได้หลายลักษณะเช่นการแข่งขันกัน การจ้องจับผิดกันการกล่าวโทษกัน หรือการแยกตัวไม่ร่วมมือกัน
การจัดการความขัดแย้ง
ให้ความสนใจกับประเภทต่างๆของ
ความขัดแย้ง
การติดต่อสื่อสารที่ชัดเจนต่อเนื่อง
การสร้างเป้าประสงค์ หรือค่านิยม
ร่วม
พิจารณาธรรมชาติของความเป็น
อิสระซึ่งกันและกัน
แสดงความมีอำนาจ
ความสมดุลถูกต้องในการ
จูงใจ
การสร้างความเห็นอกเห็นใจ
ต้องพร้อมที่จะเสี่ยง