Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Endocrine system ระบบต่อมไร้ท่อ, : 22, : 222, 2222, 22222, นางสาวอัชริญา…
Endocrine system
ระบบต่อมไร้ท่อ
ลักษณะของต่อมไร้ท่อ
กลุ่มเซลล์เรียงตัวกันเป็นแถว (columnscolumns) เป็นถุง (folliclefollicle) หรือเป็นกลุ่มก้อน (clustersclusters) โดยเซลล์มีกำรสัมผัสอย่ำงใกล้ชิดกับหลอดเลือดภำยในต่อม
สร้ำงสำรเคมีที่มีฤทธิ์จำเพำะต่ออวัยวะเป้ำหมำย (target organ organ) สำรที่สร้ำงเรียกว่ำ ฮอร์โมน
ไม่มีท่อลำเลียงสาร(ใช้เส้นเลือดในกำรลำเลียงแทน)
หน้าที่ของฮอร์โมน
ภาวะสมดุลของน้ำและอิเล็กโทรไลต์
กำรเจริญเติบโต
กำรเจริญพันธุ์
กระบวนกำรเมแทบอลิซึมต่ำงๆ
การทำงานของระบบต่อมไร้ท่อจะสมบูรณ์ต้องอาศัยปัจจัยต่างๆได้แก่
เซลล์ที่สร้ำงฮอร์โมน
ฮอร์โมน
ระบบไหลเวียน
Receptor ของเซลล์เป้ำหมำย
เซลล์เป้ำหมำย (target cells cells)
ต่อมไร้ท่อ (endocrine glands glandsหรือ ductless glands glands)
ต่อมที่ผลิตและหลั่งสำรเคมีที่เรียกว่ำฮอร์โมนแล้วถูกลำเลียงเข้ำสู่ระบบไหลเวียนไปออกฤทธิ์อย่ำงจำเพำะที่อวัยวะเป้ำหมำย (target organ organ)โดยไม่ผ่ำนทำงท่อใดๆเลย
ฮอร์โมนแบ่งเป็น 2กลุ่มใหญ่
Nonsteroid hormones (ไม่มีไขมันเป็นองค์ประกอบ)
Steroid hormones (มีไขมันเป็นองค์ประกอบ)
ตัวรับ (receptorreceptor)ของฮอร์โมน
ตัวรับฮอร์โมนที่อยู่บริเวณเยื่อหุ้มเซลล์ รับฮอร์โมนที่ไม่ละลำยในไขมัน และมีโมเลกุลขนำดใหญ่ เช่นกลุ่มของ nonsteroid hormones
ตัวรับฮอร์โมนที่อยู่ภำยในเซลล์ รับฮอร์โมนที่ละลำยในไขมันและมีโมเลกุลขนำดเล็ก เช่น สเตรอยด์ฮอร์โมน
อวัยวะที่สร้างและหลั่งฮอร์โมน
parathyroid gland (endoderm)
สร้างพาราไทรอยด์ฮอร์โมนมีหน้ำที่เพิ่มระดับCa 2 และ ฟอสเฟตในกระแสเลือด
thymus gland (endoderm)
Thymus glandglandตั้งอยู่บริเวณทรวงอกรอบเส้นเลือดใหญ่ของหัวใจ
เมื่ออายุน้อยจะมีขนาดใหญ่จะเจริญเต็มที่เมื่อย่างเข้าสู่วัยรุ่นและเมื่ออายุมากขึ้นจะฝ่อลงกลายเป็นก้อนไขมัน
thyroid gland (endoderm)
Follicular cells
cellเซลล์เรียงตัวกันเป็นกลุ่ม ลักษณะมีตั้งแต่เป็นเซลล์แบนๆ
สร้ำงไทรอยด์ฮอร์โมน ไธรอกซิน(thyroxin) หรือ tetraiodothyronine (T 4 )และ triiodothyronine (T 3)
Parafollicular cells
เซลล์ขนำดใหญ่ ติดสีจำงมำก จึงเรียกว่ำclear cell หรือ C cell cell
มีหน้ำที่ลดระดับแคลเซียมในกระแสเลือด (รวมทั้งฟอสเฟตด้วย) โดยนำไปเก็บที่กระดูก
กำรสังเครำะห์ฮอร์โมน calcitonincalcitoninจะถูกควบคุมโดยระดับของแคลเซียมและฟอสเฟต(PO 4) ในกระแสเลือด และฮอร์โมนจำกต่อมพำรำไธรอยด์
adrenal gland
เป็นต่อมคู่คลุมอยู่เหนือไตทั้งสองข้างมีลักษณะแบน(ข้างขวาเป็นรูปสามเหลี่ยมข้างซ้ายเป็นsemilunarsemilunar)
ในคนต่อมหมวกไตอยู่ที่ระดับT 1212(ต่อมหมวกไตข้างขวาอยู่ต่ากว่าข้างซ้าย)
เป็นretroperitonium
pineal gland (ectoderm)
Pinealocyte
นิวเคลียสใหญ่ ไซโทพลาสซึมติดจาง PinealocytePinealocyte สร้าง melatoninmelatonin โดย melatoninmelatonin จะหลั่งมากช่วงกลางคืน
melatonin ยับยั้งกำรเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ ทำให้เป็นหนุ่มเป็นสาวช้าและทำให้การตื่นตัวลดลง
Neuroglia มีรูปร่างคล้าย astrocyteastrocyte (บางตำราเรียก astrocyteastrocyte)
Pancrease (endoderm)
เป็นอวัยวะที่ประกอบด้วยต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่ออยู่รวมกัน
ต่อมไร้ท่อในตับอ่อนประกอบด้วยกลุ่มเซลล์กระจัดกระจำยอยู่ระหว่ำงกระเปำะของต่อมมีท่อ
เรียกกลุ่มเซลล์นี้ว่ำ islets of langerhans เป็นเซลล์ขนำดเล็กย้อมไม่ค่อยติดสี
pituitary gland (ectoderm) ต่อมใต้สมอง
ส่วนหน้า คือ anterior pituitary หรือ adenohypophysisadenohypophysisมีโครงสร้ำงเป็นเซลล์ต่อมพัฒนำขึ้นจำกชั้นผิวนอก (oral ectoderm ectoderm) ของเนื้อเยื่อในปาก
ส่วนหลัง คือ posterior pituitary หรือ neurohypophysis เจริญยื่นลงมาจากสมอง ส่วน hypothamushypothamusจึงมีลักษณะโครงสร้ำงเป็นเซลล์ประสำท
(Hypophyseal stalk stalk)
testis (mesoderm)
Interstitial cell (Leydig cells cells) ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนเพศชายtestosterone กระตุ้นลักษณะที่สองของเพศชาย (male secondary sexual characteristiccharacteristic)
ovary
granulosa lutein cell cell สร้าง progesterone
theca lutein cell สร้างandrostenedione (precursor of estrogen estrogen)
Hypothalamus (ectoderm)
cell; producing oxytocin and vasopressin (ส่งผ่านต่อมใต้สมองส่วนหลัง)
Supraoptic nucleus=ADH
Paraventricular nucleus= oxytocin
cell; releasing and inhibiting hormone (ส่งผ่านต่อมใต้สมองส่วนหน้า)
:
:
นางสาวอัชริญา ศรีวรสาร คณะพยาบาลศาสตร์ รหัสนิสิต 63010410025