Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
KIDNEY URINARY BLADDER SYSTEM (KUB SYSTEM), นางสาวปวีณา หมื่อโป เลขที่ 51…
KIDNEY URINARY BLADDER SYSTEM (KUB SYSTEM)
Anatomy
Location
ไตของมนุษย์มี 1 คู่ อยู่บริเวณในช่องท้องด้านหลัง (retroperitoneal) โดยอยู่คนล่ะข้างของกระดูกสันหลัง
ขอบบนของไตตรงกับระดับ T12 และขอบล่างของไตตรงกับะดับ L3 โดยไตข้างขวาจะมีระดับต่ำกว่าไตข้างซ้ายเล็กน้อย
ขนาดของไตปกติในมนุษย์มีขนาด ความยาวประมาณ 11-12 ซม กว้าง 5.0-7.5 ซม และหนา 2.5-3.0 ซม
Kidney structure
Hilum
Renal artery
ไตแต่ล่ะข้างในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเกือบทั้งหมดจะถูก เลี้ยงโดยเส้นเลือดแดงเพียง1 เส้น
เล้นเลือดแดงที่ไปเลี้ยงไตจะออกจาก Aorta และเข้าสู่ ไตบริเวณขั้วไต (Hilum)
Renal pelvis
2.Parasympathetic nerve
1.Sympathetic nerve
Renal vein
ออกมาจากไตแต่ล่ะข้างโดยต่อเข้ากับ Inferior vena cava
แบ่งเป็น 2 ชั้น
2.Renal medulla :ไตชั้นใน
1.Renal cortex : ไตชั้นนอก
Collecting system
1.Renal calyx
2.Renal pelvis
The Nephron
คือ หน่วยที่ทำหน้าที่ของไต (functional unit)
มีประมาณ 900,000-1,000,000 หน่วยต่อ 1 ไต
โครงสร้าง
1.Glomerulus
Capillary network
2.Glomerular basement membrane
3.Epithelial cell (Podocyte)
1.Endothelial cell
Mesangial cell
Bowman’s capsule
2.Tubule
Proximal convoluted tubule
Loop of Henle
Distal convoluted tubule
Collecting duct
Function of Kidney
Maintanance
ควบคุมสารน้ำโดยขับหรือ คั่ง ทั้งในและนอกเซลล์
ความเข้มข้นของน้ำ Na K Ca Po4 เพื่อที่จะรักษาขนาดของเซลล์ และการทำงานของเซลล์ ไว้
Excretion
กำจัด nitrogenous waste ที่สร้างโดยตับในกระบวนการ metabolism
ยาและสารพิษหลายๆชนิด ก็ถูกขับออกมา ในปัสสาวะเช่นกัน
Regulation
เลือดไปเลี้ยงไตน้อยลง จะกระตุ้น sympathetic หลั่ง renin จาก juxtaglomerular cells
Renin จะไปเปลยน angiotensinogen ใหเป็น angiotensin I ซงจะไปเปลยนเปน angiotensin II
Angiotensin II เป็นสารที่มีคุณสมบัติที่ให้เกิด vasoconstriction ของหลอดเลือด และกระตุ้นให้เกิด sodium retension
นอกจากน้ัน angiotensin II ยังกระตุ้นการหลั่ง aldosterone จาก zona glomerulosa ของ adrenal gland
Production of hormones
Activation of vitamin D
Vitamin D มีบทบาทสำคัญในการควบคมสมดุลของ Ca P และการ metabolism ของกระดูก
Erythropoietin
สร้างจาก Interstitial fibroblast
ช่วยสร้างเม็ดเลือดแดงในไขกระดูก
Assesment
GFR
เป็นผลจากค่าเฉลยของอัตราการกรองของแต่ละ nephron คูณกับจำนวน nephronทั้ง 2 ข้างในไต
ค่าปกติของ GFR ขึ้นกับ อายุ เพศ ขนาดร่างกาย การออกกำลังกาย อาหาร ยา ที่รับประทาน และภาวะตั้งครรภ์
ค่าปกติ
130 ml/min/1.73 ตารางเมตร ผู้ชาย
120 ml/min/1.73 ตารางเมตร ในผู้หญิง
Urinalysis (UA)
วิธีการทดสอบทางเคมี
ช่วยให้ข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับความผิดปกติภายในไต หรือในร่างกาย
วิธีการเก็บปัสสาวะ เก็บจาก midstream clean-catch urine
หลังเก็บปัสสาวะเสร็จควรส่งตรวจทันทีหรือเก็บไว้ในตู้เย็นในช่วงสั้นนๆเพราะหากทิ้งไว้นานอาจทำให้คุณสมบัติทางเคมีบางอย่างเปลี่ยนแปลงได้
Hematuria
ตรวจพบ RBC ในปสสาวะ
แบ่งเป็น 2 ประเภท
Macroscopic (Gross) hematuria มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
Microscopic hematuria มองเห็นด้วยกล้องจุลทรรศน์
Definition
ตรวจพบ RBC ≥ 3 ตัว ต่อ high-power field ที่ตรวจจากปัสสาวะที่ปน
Proteinuria
พบโปรตีนในปัสสาวะได้ไม่เกิน 150 mg/day พบมากกว่านี้จะบอกถึงการทำลายของไต
โปรตีนหลักๆที่พบในปัสสาวะคือ Tamm-Horsfall protein นอกเหนือจากนั้นจะเป็น albumin ซึ่งปกติจะพบน้อยกว่า 30 mg/day
Albuminuria บ่งบอกถึงมีภาวะทำลายของ glomerular filtration barrier
ภาวะไตวายเฉียบพลัน (AKI)
คำนิยาม
KDIGO 2012
1.↑sCr ≥ 0.3 mg/dL in 48 hr
↑sCr ≥ 1.5 x baseline in 7 day
Urine volume < 0.5 ml/kg/hr for 6 hr
AKI Management
วินิจฉัยภาวะไตวายเฉียบพลันให้ได้โดยเร็ว
หาสาเหตและแก้ไขสาเหตุ
แก้ไขภาวะ pre-renal และ จัดการ hemodynamic ให้ stable
ป้องกันไม่ให้เกิดการทำลายไตมากขึ้น หลีกเลี่ยงยาและสารต่างๆที่มีพิษต่อไต
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ แก้ไข electrolyte และ acid- base ที่ผิดปกติพร้อมกับให้สารอาหารที่เหมาะสม
ปรับ dose ยาโดยเฉพาะ antibiotics ตาม GFR
Renal replacement therapy เมื่อมีข้อบ่งชี้
ประเมินการทำงานของไตเป็นระยะๆว่ามีแนวโน้มดีขึ้น หรือ แย่ลง
ภาวะไตวายเรื้อรัง (CKD)
นิยาม
ความผิดปกติ
การทำงานของไต
eGFR < 60 ml/min/1.73m2
โครงสร้างของไตผิดปกติ
มีเม็ดเลือดขาวหรือเม็ดเลือดแดงออกมาในปัสสาวะ
มีโปรตีนไขขาวออกมาในปัสสาวะ >30 mg/24hr
โครงสร้างของไตผิดปกติ
ผู้ป่วยปลูกถ่ายไต
ระยะ
ระยะ 2 การทำงานของไตร้อยละ 90 - 60
ระยะ 3a การทำงานของไตร้อยละ 59-45
ระยะ 1 การทำงานของไตมากกว่าร้อยละ 90
ระยะ 3b การทำงานของไตมากกว่าร้อยละ 44-30
ระยะ 4 การทำงานของไตร้อยละ 29-15
ระยะ การทำงานของไตน้อยกว่า 14
การประเมินโปรตีนไขขาวในปัสสาวะ
แนะนำให้ตรวจในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังทุกรายโดยใช้ปัสสาวะแรกสุดหลั่งตื่นนอนตอนเช้า
ตรวจอะไร
UACR
UPCR
Urine dip stick
อาการ
นอนไม่หลับ
ปัสสาวะบ่อยกลางคืน
ปวดศีรษะ
ขาอยู่ไม่นิ่ง
ทานอาหารได้น้อย ลิ้นไม่รับรส
เหนื่อยเวลาออกแรง
อ่อนเพลีย
ตะคริวบ่อย
คันตามตัวโดยเฉพาะกลางคืน
อาการแสดง
คันมีรอยเกาตามตัว
แขนขาไม่ค่อยมีแรง
เลือดออกตามไรฟัน
เยื่อหุ้มหัวใจหรือเยื่อหมปอดอักเสบ
ปอดบวมน้ำ บวมตามแขนขา
ผิวหนังแห้ง มีสีคล้ำผิดปกติ
หายใจมีกลิ่นแอมโมเนีย
สาเหตุ
Tubulointerstitial disease
Toxin(lead,aristolochic acid) อยู่ในสมุนไพรจีน
Stone
Vascular disease
HTN
PAN Fibromuscular dysplasia ขนาดของไตมากกว่า 12 cm.
Glomerular disease
IgAN
DM SLE Infection Drugs
Cystic & congenital
Polycystic kidney disease
Renal dysplasia
ทดแทนไตในปี 2558
เป็นนิ่วไปอุดตัน
IgAN
ความดันโลหิตสูง
เบาหวาน
การดูแลรักษา
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิด
ภาวะซีด
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง
ภาวะเลือดเป็นกรด
โรคกระดูกและแร่ธาตุที่เกิดจากโรคไต: Ca P
ภาวะความดันโลหิตสูง
ภาวะบวมและสารน้ำเกินในร่างกาย
ภาวะของเสียในเลือดคั่ง
เตรียมพร้อมเข้าสู่การบำบัดทดแทนไต
เริ่มการบำบัดทดแทนไตเมื่อ
GFR <15 + มีอาการจากของเสียในร่างกายคั่ง
GFR <6 → เริ่มทำได้เลยแม้ไม่มีอาการ
เมื่อเข้าสู่ CKD ระยะที่ 4 ควรส่งพบ อายุรแพทย์โรคไต
ชะลอการเสื่อมของไต
ควบคุมความดันโลหิต
ยากลุ่ม ACEi/ARB ใช้อย่างระวังใน CKD stage 4-5
อาหาร : จำกัดเกลือ< 5 กรัม/วัน และโปรตีน< 0.8 g/Kg/day
หยุดสูบบุหรี่
หลีกเลี่ยงสารที่มีพิษต่อไต
ควบคุมน้ำตาล รักษาระดับ HbA1C ~ 7%
Glomerular Disease
Primary glomerular disease
glomerulus ผิดปกติอย่างเดียว
Secondary glomerular disease
โรคที่เกิดจากความผิดปกตินอก glomerulus
ภาวะเกลือแร่ผิดปกติ
Hypernatremia
สาเหตุ
ได้รับ Na ปริมาณมาก
มีการสูญเสียน้ำจาก Fever, Burn, Reapiratory tract infection รักษาโดยการให้น้ำทางปากหรือหลอดเลือดดำ
Na > 145 mEq/L
Hypokalemia
สาเหตุ
มีการสูญเสีย Kออกไปจากร่างกาย
Renal loss : Vomitting,Diuretics
Gastrointestinal loss : Diarrhea
K เคลื่อนย้ายเข้าไปในเซลล์ -Insulin, B2-agonist
Na < 3.5 mEq/L
Hyponatermia
สาเหตุ
Pseudohyponatremia เกิดจาก Hyperglycemia
Truehyponatremia เกิดจาก SIADHคือ ADH หลั่งเยอะมากรักษาด้วยการจำกัดน้ำ 500-1000 ml/day
Na < 135 mEq/L
Hyperkalemia
Na > 5.5 mEq/L
สาเหตุ
รับประทานอาหารที่มีโพแทสเซียมสูง
โพแทสเซียมขับออกทางไตได้น้อยลง Renal failure
K เคลื่อนย้ายออกมาจากเซลล์
Hypoaldosteronism -ACEi/ARB,
ความผิดปกติของสมดุลกรด-ด่าง
Metabolic acidosis
สาเหตุ
Wide anion gap metabolic acidosis (AG>18 mEq/L) - Lactic acidosis
Normal anion gap metabolic acidosis (AG<18 mEq/L) - Diarrhea
Anion gap = Na - (Cl + HCO3) ค่าปกติ 12-18 mEq/L
การรักษา
หาสาเหตุ และแก้ไขสาเหตุนั้นๆ
bicarbonate +- 24 mEq/L
ผลของภาวะ Acidosis
ยับยั้งการทำงานของ receptor ต่างๆภายในร่างกาย
ส่งผลต่อการทำงานของเอนไซม์ต่างๆในร่างกาย
เชื่อว่าอาจส่งผลต่อการทำงานของระบบหวใจและหลอดเลือด
Metabolic alkalosis
bicarbonate มากกว่า 26 mEq/L
กลไกการเกิดภาวะ
การทำให้ด่างยังคงอยู่ในร่างกาย/ทำให้ไตขับด่างไม่ได้
Volume contraction
Chloride depletion
Renal failure
Potassium depletion
การสร้างด่าง:ถ้าไตทำงานได้ปกติจะสามารถขับด่างส่วนเกินได้หมด
สาเหตุ
ผู้ป่วยมความดันโลหิตสูง
ผู้ป่วยความดันโลหิตปกติ-Vomitting, Nasogastric tube, Diuretics
การรักษา
หาสาเหตุ และแก้ไขสาเหตุนั้นๆ
นางสาวปวีณา หมื่อโป เลขที่ 51 รหัสนักศึกษา 622401051