Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การนิเทศการพยาบาล NURSING SUPERVISION, image, นางสาวชญานุช ธรรมเสนา…
การนิเทศการพยาบาล
NURSING SUPERVISION
ความหมายของการนิเทศทางคลินิก
เป็นกระบวนการระหว่างบุคคล(interpersonal process) ผู้นิเทศหรือผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานให้ ความช่วยเหลือผู้ที่ยังมีประสบการณ์น้อย เพื่อให้สามารถปฏิบัติบทบาทของวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม
วัตถุประสงค์ของการนิเทศการพยาบาล
3.การติดต่อประสานงานเป็นไปโดยสะดวก
4.สนับสนุนบุคลากรใช้ศักยภาพสูงสุดในการปฏิบัติงาน
2.ผลลัพธ์การบริการพยาบาลมีคุณภาพ
5.เสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้นิเทศและผู้รับการ
1.พัฒนาประสิทธิภาพการพยาบาล
6.รวบรวมข้อมูลจากการนิเทศมาใช้ปรับปรุงการนิเทศ
หลักการของการนิเทศการพยาบาล
1.การนิเทศควรสะท้อนถึงการปฏิบัติการพยาบาลของผู้ปฏิบัติงาน โดยทีมีองค์ประกอบคือ supervisor, supervisee, patient and context or environment
การนิเทศควรเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะ
การนิเทศควรอยู่บนพื้นฐานของทักษะที่ จะประยุกต์ใช้ได้
การนิเทศควรให้ความสําคัญต่อผู้ป่วยเป็นอันดับแรก
4.การนิเทศควรเป็นการช่วยเหลือสนับสนุนผู้รับการนิเทศและมีการยอมรับการเปลี่ยนแปลง
6.การนิเทศควรกระตุ้นให้มีการปฏิบัติที่ปลอดภัย
แนวคิดเกี่ยวกับการนิเทศ
👨🏻⚕️การนิเทศแบบดั้งเดิม(traditional supervision)
เป็นการวางแผนการตัดสินใจและการสั่งการแก่ผู้ปฏิบัติงานหรือลูกจ้างในรายละเอียดและมีการตรวจสอบผลงานอย่างเคร่งครัด
👩🏻⚕️การนิเทศแบบสมัยใหม่ (modern supervision)
เป็นการวางแผนงานการจัดลําดับงาน การสั่งการและการให้การชี้แนะแก่ผู้ปฏิบัติงานและมีการตรวจสอบผลงานโดยคํานึงถึงสิทธิ
บทบาทของผู้นิเทศ
Formative การให้ความรูการจัดอบรมระหว่างการ
ปฏิบัติงานการเป็นที่ปรึกษา
Restorative การจัดสวัสดิการต่าง ๆ การดูแลด้านความปลอดภัยในการทํางาน เป็นต้น เพื่อให้บุคลากร สามารถปฏิบัติ
งานได้โดยมีความเครียดน้อยลง
3.Normative การจัดให้มีมาตรฐานการปฏิบัติงาน กฎระเบียบวินัยในการปฏิบัติงานนโยบายการจ้างงาน
ขั้นตอนการนิเทศ
2.การระบุปัญหา
1.การวิเคราะห์สถานการณ์
3.การกำหนดเป้าหมาย
4.การวางแผน
5.การปฏิบัติตามแผน
6.การประเมินผล
ทักษะการนิเทศ
การสะท้อนความรู้สึก (Reflecting feeling)
การสะท้อนเนื้อหา (Reflection of content)
การซักถาม (Questioning)
การกระตุ้นเพียงเล็กน้อยและความเงียบ
การสะท้อนความรู้สึก (Reflecting feeling)
1.ความสนใจตั้งใจรับฟัง (Basic attention)
การสรุป (Summarizing)
ขั้นตอนการนิเทศ
การกําหนดเป้าหมาย
การวางแผน
การระบุปัญหา
การปฏิบัติตามแผน
การวิเคราะห์สถานการณ์
การประเมินผล
เทคนิควิธีการในการนิเทศ
การสุ่มตรวจสอบกิจกรรมการพยาบาลเป็นครั้งคราว เช่น ร่วมรับฟัง การรับ-ส่งเวรตรวจสอบการบันทึกทางการพยาบาล
การปรับปรุงข้อบกพร่องในการปฏิบัติงาน โดยทั่วไปแล้วบุคลากร จะไม่ชอบหรือไม่พอใจที่จะถูกว่ากล่าวตักเตือน แต่หากมีความจําเป็นผู้นิเทศจะต้องคํานึงถึงวัตถุประสงค์
การปฏิบัติงานร่วมกับบุคลากรโดยตรง เช่น ช่วยเหลือพยาบาล
นางสาวชญานุช ธรรมเสนา 60170013