Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การนิเทศการพยาบาล NURSING SUPERVISION, นางสาว ชลัญญา ตรงเมธี รหัส60170015…
การนิเทศการพยาบาล
NURSING SUPERVISION
การนิเทศ
การนิเทศทางคลินิก(Clinical supervision)
กระบวนการระหว่าง บุคคล(interpersonal process) ผู้นิเทศหรือผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในการ ปฏิบัติงานให้ความช่วยเหลือ ผู้ที่ยังมีประสบการณ์น้อยเพื่อให้สามารถปฏิบัติบทบาทของวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม
การนิเทศทางการพยาบาล
เป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ ประสบการณ์เกี่ยวกับการ ปฏิบัติงานด้าน คลินิกและอารมณ์ความรู้สึกใน บรรยากาศและ สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมเพื่อที่จะ พัฒนา ทักษะ และความรู้ กระบวนการเหล่านี้จะ นําไปสู่การเพิ่มความตระหนักของความรับผิด ชอบและการสะท้อน คิดในการปฏิบัติงาน
วัตถุประสงค์
พัฒนาประสิทธิภาพการพยาบาล
ผลลัพธ์การบริการพยาบาลมีคุณภาพ
การติดติดประสานงานเป็นไปโดยสะดวก
สนับสนุนบุคลากรใช้ศักยภาพสูงสุดในการปฏิบัติงาน
เสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้นิเทศและ ผู้รับการ
รวบรวมข้อมูลจากการนิเทศมาใช้ปรับปรุงการนิเทศ
หลักการของการนิเทศการพยาบาล
การนิเทศควรสะท้อนถึงการปฏิบัติการพยาบาลของผู้ปฏิบัติงาน โดยที มีองค์ประกอบคือ supervisor, supervisee, patient and โดยที่มีองค์ประกอบคือ supervisor, supervisee, patient and context or environment
การนิเทศควรเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะ
การนิเทศควรอยู่บนพื้นฐานของทักษะที่ จะประยุกต์ใช้ได้
การนิเทศควรเป็นการช่วยเหลือสนับสนุนผู้รับการนิเทศและมี การยอมรับการเปลี่ยนแปลง
การนิเทศควรให้ความสําคัญต่อผู้ป่วยเป็นอันดับแรก
การนิเทศควรกระตุ้นให้มีการปฏิบัติที่ปลอดภัย
แนวคิดเกี่ยวกับการนิเทศ
การนิเทศแบบดังเดิม(traditionalsupervision)
เป็นการวางแผนการตัดสินใจและการสังการแก่ผู้ปฏิบัติงานหรือ ลูกจ้างในรายละเอียดและมีการตรวจสอบผลงานอย่างเคร่งครัด ซึ่งการนิเทศกจะเป็นการจํากัดความคิดริเริ่มของผู้ปฏิบัติงาน
การนิเทศแบบสมัยใหม่(modern
supervision)
เป็นการวางแผนงานการจัดลําดับงาน การสั่งการ และการให้การชี้แนะแก่ผู้ปฏิบัติงานและมีการ ตรวจสอบผลงานโดยคํานึงถึงสิทธิ ส่วนบุคคล และความแตกต่างระหว่างบุคคลยึดหลักบุคคล เป็นศูนย์กลาง(person-centered)
บทบาทของผู้นิเทศ
Formative – the educative process of developing skills developing skills
Restorative – supportive help for professionals working constantly with distress and stress
Normative – the quality control aspects 3. Normative – the quality control aspects of professional practice
บทบาทด้านการศึกษา
(Formativeoreducationalfunctions)
การให้ความรู้การจัดอบรมระหว่างการ ปฏิบัติงานการเป็นที่ปรึกษา (mentorship) การวิจัย และการพัฒนา บุคลากรด้านอื่นๆซึ่งช่วยพัฒนา บุคลากรให้มีความรู้ทักษะและสมรรถนะ เพิ่มขึ้น
บทบาทด้านการช่วยเหลือสนับสนุน
(Restorativeorsupportivefunctions)
การจัดสวัสดิการต่างๆการดูแลด้านความ ปลอดภัยในการ ทํางานเป็นต้นเพื่อให้บุคลากร สามารถปฏิบัติงานได้โดยมีความเครียดน้อยลง ซึ่งช่วยป้องกันการลาออกจากงาน
บทบาทหน้าที่ด้านการจัดการ (Normative ormanagerial function)
การจัดให้มีมาตรฐานการปฏิบัติงาน การจัดให้มีมาตรฐานการปฏิบัติงานกฎระเบียบวินัย ในการปฏิบัติงานนโยบายการจ้าง งานการ จัดการเกี่ยวกับอัตรากําลัง ซึ่งบทบาท หน้าที่ ด้านนี้จะช่วยให้การให้บริการมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล รวมทั้งการควบคุมคุณภาพ ของงาน
บทบาทของผู้นิเทศทางการพยาบาล
บทบาทในการบริหารจัดการเกี่ยวกับการบริการผู้ป่วย(Patient care management)
บทบาทการบริหารจัดการทรัพยากร (Resource management)
บทบาทในการบริหารงบประมาณ(Fiscal management)
หน้าที่และลักษณะงานของผู้นิเทศการพยาบาล
ประสานงานกิจกรรมของบุคลากรพยาบาล
ร่วมมือกับหัวหน้าพยาบาลในการพัฒนาและ นําปรัชญาวัตถุประสงค์ของหน่วยบริการพยาบาลไปใช้
ประเมินผลการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย และประเมินภาพรวมของคุณภาพการพยาบาล ภาพรวมของคุณภาพการพยาบาล
ร่วมในการวางแผนงานในหน่วยงานหรือแผนกที่ตนรับผิดชอบ
วางแผนและจัดให้มีการปฐมนิเทศก่อนการ ปฏิบัติงานการฝึกอบรมระหว่างปฏิบัติงานสําหรับบุคลากร
สัมภาษณ์ผู้สมัครงานและให้การรับรองเกี่ยวกับการว่าจ้างหรือ เลิกจัางบุคลากร
ช่วยหัวหน้าพยาบาลในการวางแผนงบประมาณของหน่วยงาน
มีส่วนร่วมในการศึกษาค้นคว้าเพื่อปรับปรุงคุณภาพการพยาบาล
คุณสมบัติพิเศษของผู้นิเทศทางการพยาบาล
มีประสบการณ์การเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย
มีความเฉลียวฉลาด
มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้สู้ผู้อื่น
มีความอดทนและมีความเข้าใจผู้อื่น
มีความตรงไปตรงมา
มีความสามารถในการใช้ อํานาจที่มีอยู่โดยปราศจากการ เรียกร้องเกินความ จําเป็นและไม่สูญเสียการนับถือจากผู้ใต้บังคับบัญชา
มีความเชื่อมันในตนเองและสามารถ ทําให้ผู้อื่นเชื่อถือในความสามารถของตน
มีสุขภาพดีทั้งร่างกายจิตใจ
มีความสามารถในการส่งเสริม สัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่น
ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มต่างๆในวิชาชีพ พยาบาลและถ่ายทอดสู้เพื่อนร่วมวิชาชีพได้
มีความสามารถในการปฏิบัติการ พยาบาลใหม่ๆและใช้อุปกรณ์การรักษา พยาบาลใหม่ๆได้
มีความสนใจในการให้การพยาบาลที่มีคุณภาพ
ให้การช่วยเหลือสนับสนุนอย่าง เหมาะสมเมื่อบุคลากร มีความต้องการและ จําเป็นมีความต้องการและจําเป็น
จัดบรรยากาศที่มีการสร้างสรรค์ความร่วมมือระหว่างผู้ปฏิบัติงาน
กิจกรรมของการนิเทศทางการพยาบาล
การเยี่มมตรวจทางการพยาบาล(Nursing rounds)
การประชุมปรึกษาทางการพยาบาล(Nursing conference)
การสอน(Teaching)
การให้คำปรึกษาแนะนํา(Counseling)
การแก้ปัญหา(Problemsolving)
การสังเกต(Observation)
การร่วมมือในการปฏิบัติงาน(Participation)
ประเภทของการนิเทศ
การนิเทศตนเอง(Self –supervision)
การนิเทศเป็นทีม(Team supervision)
การนิเทศเป็นกลุ่ม(Group supervision)
เทคนิควิธีการในการนิเทศ
การปฏิบัติงานร่วมกับบุคลากรโดยตรง
การสุ่มตรวจสอบกิจกรรมการพยาบาลเป็นครั้งคราว
การปรับปรุงข้อบกพร่องในการปฏิบัติงาน โดยทั่วไปแล้วบุคลากร จะไม่ชอบหรือไม่พอใจที่จะถูกว่ากล่าวตักเตือน
ทักษะการนิเทศ
ความสนใจตั้งใจรับฟัง(Basic attention)
การกระตุ้นเพียงเล็กน้อยและความเงียบ (Minimum encouragement and silence)
การซักถาม(Questioning)
การสะท้อนเนื้อหา(Reflection of content) การสะท้อนความ รู้สึก(Reflecting feeling)
การสะท้อนความรู้สึก(Reflecting feeling)
การสรุป(Summarizing)
การท้าทาย(Challenging)
ขั้นตอนการนิเทศ
การวิเคราะห์สถานการณ์
การระบุปัญหา
การกําหนดเป้าหมาย
การวางแผน
การปฏิบัติตามแผน
การประเมินผล
นางสาว ชลัญญา ตรงเมธี รหัส60170015