Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pathology of Kidney and Urinary bladder system, นายอินทรา นพไชย เลขที่ 92…
Pathology of Kidney and Urinary
bladder system
antidiuretic hormone/Vasopressin(ADH) กรąตุ้นการดูดซึมน้ำกลับสู่กระแสเลือดบริเวณท่อรวมหน่วยไต จะช่วยรักษาสมดุลนำ้ในร่างกาย
ADH ถ้าออกเยอะร่างกายดูดกลับนำ้เยอะถ้าน้อยอาจจะเป้นเบาจืด
Function of urinary system -กรองและขับของเสียออกจากร่างกายทางปัสสาวะ
-ควบคุมสมดุลของนำ้และ Electrolytes
-ควบคถุมสมดุลกรดด่างของร่างกาย
-ควบคุมความดันโลหิตในร่างกาย
-สังเคราะห์ฮอร์โมนที่สำคัญในร่างกาย เช่น erytropoitin, renin
-ช่วยกำจัดสารพิษในร่างกาย
Renal function test
การตรวจ BUN, Creatinine แลą eGFRเพื่อดูว่าไตสามารถทำหน้าที่กรองของเสียออกจากเลือดขับทั้งปัสสาวะได้เป็นปกติหรือไม่
Blood urea nitrogen ระดับ BUN ในเลือดที่เพิ่มขึ้น แสดงว่่าการทำงานของไตลดลง
Serum creatinine เป็นสารที่กล้ามเนื้อสร้างขึ้นและขับออกทางเดินปัสสาวะในอัตตราที่สม่ำเสมอประมาณวันละ 20-25 mg/kg ช.18-20 mg/kg
Estimated glomerular filtration rate : eGFR การตรวจหาอัตตราของไต ค่า Creatinine ยิ่งสูงจะทำให้ GFR มีค่าต่ำ
Pathology of Kidney ความผิดปกติของระดับสารต่างๆ ภายในเลือด
Hypernatremia
ภาวะที่ร่างกายมีปริมาณโวเดียมในเลือดเกินค่ามาตฐาน(Normal 135-145 mmol/L )
Hyperkalemia ภาวะที่มีปริมาณไโพแทสเซียมในเลือดสูงเกินเกณฑ์มาตฐาน (Normal 3.5-5.0 mmol/l)
Hyponatremia ภาวะที่ร่างกายมีปริมาณโซเดียมในเลือดต่ำกว่าค่ามาตฐาน (Normal 135-145 mmol/L ) เกิดจากความผิดปกติที่ไตขับน้ำออกจากร่างกายลดลง อาจจะทำให้เกิดภาวะไตวาย
Hypokalemia ภาวะที่มีปริมาณโพแทสเซียมในเลือดต่ำเกินเกณฑ์มาตฐานทำให้เป็นการทำงานของระบบ RAAs ทำให้ HCO3 ในปัสสาวะเพิ่ม K+ออกจากร่างกายเพิ่ม
Uremia อาการเป็นพิษในเลือดที่เกิดจากสาร Urea/Creatinine ตกค้างในเลือด ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการผิดปกติทางสมอง ร่างกาย อ่อนเพีลย เบื่ออาหาร คลื่นใส้ อาเจียน
Kidney failure
ภาวะที่ไตเสียหน้าที่ในการขับของเสียในที่เกิดการเผาผลาญอาหารออกจากกระแสเลือด ไตวายมี 2 ชนิด
Acute renal failure (ARF) ภาวะไตสูญเสียหน้าที่ทันทีทันใดส่งผลให้มีการดึ่งของของเสียในร่างกาย ส่งผลกระทบต่อระบบประสาท หัวใจ หายใจ น้ำและelectrolytes
Chronic renal Failure (CRF)ไตล้มเหลวเรื้อรัง
Pathology of Kidney ความผิดปกติของสารต่างๆภายในปัสสาวะ Hematuria:ปัสสาวะเป็นเลือด คือการมีเม็ดเลือดแดงบ่นออกมากับปัสสาวะ > 8000 cell/mlอาจจะเห็นชัดเจนเป็นเลือดสดๆๆ (Gross hematuria)หรือเห็นเมือดูจากกล้องจุลทรรศน์
Proteinuria
ภาวะที่มีโปรตีนในปัสสาวะมากกว่า 150mg/วัน โดยปกติสามารถตรวจพบโปรตีนได้ประมาณวันละ 40-80Mg Transient proteinuria: การพบโปรตีนในปัสสาวะชั้วคราว
-Persistent proteinuria:การพบโปรตีนในปัสสาวะทุกครั้งที่มีการตรวจปัสสาวะ
Glucosuria การมีระดับนำ้ตาลในเลือดสูงเกินระดับที่ไตสามารถกรองได้>160Mg/วัน ในเลือดทำให้ปริมาณนำ้ตาลผ่านการกรองมากเกินกว่าที่หลอกดเลือดฝอยไตจะสามารถดูดกลับได้หมด
Ketonuria
การตรวจพบดีโตนในปัสสาวะ>2mg/dl เนื่องจากการเผาผลาญผลังงานจากคารโบไฮเดรตในร่างกายไม่สมบูรณ์หรือไม่เพียงพอจึงลดการใช้พลังงานจากไขมันและโปรตีนในร่างกายขึ้น
Polyuria ภาวะที่มีการขับถ่ายปัสสาวะมากกว่าวันละ 1500mlโดยไม่ได้เกิดจากการดื่มนำ้มาก
Oliguria ภาวะปัสสาวะน้อยกว่าปกติ(<20ml/hr)<400ml/day5 ถ้า < 100 ml/day
→ Anuria
Voiding dysfunction - Nocturia:อาการที่ตื่นดึกเมือปัสสาวะมากกว่า 1ครั้งโดยเกิดจากร่างกายผลิตปัสสาวะมากเกินไปหรือกระเพราะปัสสาวะไม่สามารถกรองหรือรับนำ้ปัสสาวะได้นานเพียงพอ - Dysuria:ปัสสาวะ้ลำบาก ปวดขณะขับถ่ายปัสสาวะและอยากถ่ายปัสสาวะทันทีทันใด -Retention of urine:การมีปัสสาวะคั่งในกระเพราะปัสสาวะๆไม่สามารถทำให้กระเพราะปัสสาวะว่าหรือภาวะที่ไม่มีการขับถ่ายปัสสาวะภายใน 8-10hr 1ของการขับถ่ายครั้งสุดท้าย
Urinary incontinence - stress incontinence:ปัสสาวะเล็ดขณะออกแรง,-urge incontinence):ปัสสาวะราด, - overflow incontinence:ปัสสาวะเล็ดราด,-functional incontinence:ปัสสาวะเล็ดที่เกิดจากภาวะหรือโรคทางกายที่ไม่ใช่ความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง
Kidney Stones นิ่วไต โรคที่เกิดจากแร่ธาตุแข็งชนิดต่างๆที่รวมตัวกันเป็นก่อนหากปัสสาวะมีความเข้มเข้นจนแร่ธาตุต่างๆตกตะก่อนจับตัวเป็นแนวหินปูนที่อยู่ในท่อไตแต่ไม่ได้อยู่ในกรวยไตหรือ calyces เรียกว่า “nephrocalcinosis”
จำแนกได้2 ชนิด ตามตำ่แหน่งที่พบในทางปัสสาวะ
1.โรคนิ่วทางเดินปัสสาวะส่วนบน คือนิ่วที่พบบริเวณ กลีบกรวยไต (renal calyces) กรวยไต(renal
pelvis) และท่อไต (ureter)
2.โรคนิ่วทางเดินปัสสาวะส่วนล่างคือนิ่วที่พบบริเวณกระเพาะปัสสาวะ (bladder)และบริเวณท่อปัสสาวะ (urethra) BX:นิ่วø<5mm ดื่มนำ้มากๆ,ยาแก้ปวด 1buprofen,Naproxen,ยาขับนิ่วAlpha blocker นิ่ว ø > 5 mm ทำให้เลือดออกเกิดแผลที่ท่อไตการใช้คลื่นเสียงแตกตัวก้อนนิ่ว,การผ่าตัดก้อนนิ่วออก
Horseshoe kirney การเชื่อมกันของไต 2ข้าง ตั้งแต่กำเสด double ureter
Urinary tract infections
แบ่งตามตำแหน่งการติดเชื้อ
-Lower urinary tract infection:ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะบ่อยโดยไม่มีไข้หนาวสั่น -Upper urinary tract infection:ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบน มีไข้ ปวดหลัง
Urinary tract infections แบ่งตามการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะสภาวะผู้ป่วย Uncomplicated UTI: การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะแบบไม่ซับซ้อน มีกระเพราะปัสาวะติดเชื้อหรือกรวยไตอักเสบ Complicated UTI: การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะแบบซับซ้อน
Asymptomatic bacteriuria การพบเชื้อแบคทีเรียในปัสสาวะ> 10 5 cfu/ml
Pyuria: การตรวจพบว่ามีเม็ดเลือดขาว (WBCs) ในปัสสาวะบ่งบวกรวมตัวของแบคทีเรียมากกว่าการติดเชื้อ วินิฉัยจากวัณโรคหรือมะเร็ง
Renal cell carcinoma มะเร็งไต พบในเพศชาย>หญิง เกิดจากการสูบบุรี่ รังสีจากสารThoratrast โลหะหนัก เช่น แคดเมียม,ตะกั่ว
Urinary bladder carcinoma กระเพราะปัสสาวะ เกิดจากการแบ่งตัวที่ิผิดปกติของCellเยื่อบุผนังด้านใน
Rhabdomyolysis ภาวะกล้ามเนื้อสลาย เกิดจากความผิดกปกติทางพันธุกรรมของกล้ามเนื้อ -การติดเชื้อแบคทีเรีย
-ภาวะขาดน้ำอย่างรุนแรง
-การได้รับสารพิษ เช่น พิษงูกัด
Kidney failure
ภาวะที่ไตเสียหน้าที่ในการขับของเสียในที่เกิดการเผาผลาญอาหารออกจากกระแสเลือด ไตวายมี 2 ชนิด
Acute renal failure (ARF) ภาวะไตสูญเสียหน้าที่ทันทีทันใดส่งผลให้มีการดึ่งของของเสียในร่างกาย ส่งผลกระทบต่อระบบประสาท หัวใจ หายใจ น้ำและelectrolytes
Chronic renal Failure (CRF)ไตล้มเหลวเรื้อรัง
Chronic renal Failure (CRF) มี3ระยะ -ระยะที่1 ในร่างกายของอาการไตวายเรื้อรัง จะไม่มีอาการแสดงให้เฆ็นชัดเจน -ระยะที่2 เป็นระยะที่การทำงานของไตเริ่มลดลงแต่ยังไม่แสดงอาการให้เฆ็น ค่าทำงานของไตเหลือเพียง 60-89ml/min
-ระยะที่3 ไม่มีอาการไดๆแสดงให้เห็นค่าการทำงานของไต 30-59 ml/min -ระยะที่4 อาการต่างๆจะแสดงในระยะนี้ การทำงานของไต15-29 ml/min มีอาการมึนงง เบื่ออาหาร นำ้หนักลด -ระยะที่5 ตรวจพบการเสียสมดุลของแคลฌซียม ประสาทหรือส่ารต่างๆที่อยู่ในเลือด
Hemodialysis: การบำบัดไตใช้เครื่องไตเทียมมาฟอกเลือดขจัดของเสียเพื่อรักษษสมดุลของนำ้และกรดด่าในร่างกาย -Continuous ambulatory peritoneal dialysis (CAPD ทำด้วยตัวเองที่บ้านได้ -Renal transplantationการผ่าตัดเปลี่ยนถ่ายไต
นายอินทรา นพไชย เลขที่ 92 รหัสนักศึกษา 621401095