Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศีกษา 4, S : - O : -T 38.9 C RR 40 bpm อ่อนเพลีย - Coggle…
กรณีศีกษา 4
วางแผนการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 2 ไม่สุขสบายเนื่องจากมีไข้สูง
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยอุณหภูมิกายลดลง
เกณฑ์การประเมิน
อุณหภูมิร่างกายลดลงน้อยกว่า 38.9 องศาเซลเซียส
การพยาบาล
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ เพื่อให้ ลดการเผาผลาญของร่างกาย
เช็ดตัวลดไข้ ด้วยน้ำเย็น เพื่อเพิ่มการระบายความร้อนโดยการนำความร้อนเช็ดตัวลดไข้เมื่อผู้ป่วยมีไข้ 38.0 ° Cขึ้นไป
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษาและติดตามอาการข้างเคียงของยา เช่น ผื่นคัน วิงเวียนศรีษะ เป็นต้น อาการแพ้ที่ผิดหนังอย่างรุนแรง คลื่นไส้ อาเจียน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา
วัดและจดบันทึกอุณหภูมิทุก 4 ชั่วโมงโดยการวัดอุณหภูมิทางรักแร้นาน 3-5 นาทีลงบันทึกไว้เพื่อดูการดำเนินของไข้และให้การช่วยเหลือต่อไป
ดูแลให้ดื่มน้ำมาก ๆ 8-10 แก้วต่อวัน หรือ 2,500 -3,000 ต่อวันเพื่อชดเชยน้ำที่ร่างกายสูญเสียไป
จัดให้รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่ายเพื่อให้ร่างกายและให้พลังงานสูงเช่นข้าวต้มโจ๊ก
ประเมินผลการพยาบาล
ผู้ป่วยมีอุณหภูมิกาย 37.5 องศาเซลเซียส
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 1 มีภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากมีการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะพร่องออกซิเจน
การพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะทางเดินหายใจส่วนบน เพื่อหาอาการแสดงถึงการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะ 45 องศา เพื่อให้ปอดขยายตัวได้และสามารถแลกเปลี่ยนแก๊สได้ดีขึ้น
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา เพื่อเพิ่มปริมาณออกซิเจนในร่างกาย
จัดกิจกรรมรบกวนผู้ป่วยน้อยที่สุด เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนที่เพียงพอ ถ้าผู้ป่วยมีอาการกระวนกระวายพักไม่ได้หรือร้องไห้รีบปลอบให้หยุดเพราะขณะที่ผู้ป่วยร้องไห้หรือดิ้นภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจจะรุนแรงมากขึ้น
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์เพื่อให้ได้รับการรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ
Adrenaline โดยวิธีพ่นฝอยละออง(Nebulizer) ทำให้เส้นเลือดที่เยื่อบุหลอดลมหดตัว ลดอาการบวมไม่ให้ทางเดินหายใจตีบแคบลง และติดตามอาการข้างเคียงของยาเช่น มือสั่น ใจสั่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ เหงื่ออกมาก เป็นต้น
Sulbutamol ติดตามอาการข้างเคียงของยาเช่น ปวดศีรษะ คลื่นไส้ ไอ เจ็บคอ นอนไม่หลับ หากมีอาการรุนแรงให้รีบรายงานแพทย์ทันที
ดูแลด้านจิตใจเด็กและครอบครัวเพื่อลดความวิตกกังวล
ติดตามค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด เพื่อติดตามค่าออกซิเจนในร่างกาย
วัดvital signs เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ
ให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับโรคและการดูแลขณะอยู่โรงพยาบาลและที่บ้าน เพื่อเพิ่มความรู้และความเข้าใจให้แก่ผู้ปกครอง
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยมีปริมาณ oxygen saturation เพิ่มขึ้นมากกว่า 95%
ไม่พบอาการที่แสดงถึงอาการของการอุดกั้นทางเดินหายใจเช่น ไม่พบหายใจหอบเหนื่อย ไม่พบหายใจปีกจมูกบาน ไม่พบเสียง stidorและrhonchiไม่พบการไอเสียงก้อง(barking cough)
Respiratory rate อยู่ในเกณฑ์ปกติ (20-28 bpm)
ผลการประเมิน
ผู้ป่วยมี oxygen saturation อยู่ในระดับ 96 %
ผู้ป่วยไม่มีอาการหายใจหอบเหนื่อย ปีกจมูกบานขณะหายใจเข้า
Respiratory rate อยู่ในระดับ 26 bpm
S : -
O : หายใจหอบเหนื่อย, Nasal fairing, barking cough, Inspiratory stridor and Rhonchi, RR : 40 bpm
การคาดคะเนโรค (R/O)
โรค Croup syndrome
พยาธิสรีรภาพ (Pathological)
เกิดจากเชื้อไวรัสซึ่งมีอยู่หลายชนิดโดยเชื้อที่พบได้บ่อยคือ parainfluenza และ respiratory syncytial virus(RSV) ทำให้เกิดการอักเสบบริเวณกล่องเสียงและฝาปิดกล่องเสียง(subglottis) ส่งผลให้มีอาการบวมและตีบแคบ ร่วมกับมีเสมหะเพิ่มมากขึ้นในหลอดลม จึงเกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจได้ โดยไม่มีความผิดปกติของการแลกเปลี่ยนก๊าซที่ถุงลม ซึ่งลักษณะทางกายวิภาคของหลอดลมในเด็กทำให้อาการมีความรุนแรงมากขึ้น
ประวัติความเจ็บป่วยในปัจจุบัน (PI)
PI : 3 วันก่อน มีไข้ ไอแห้ง ๆ มีน้ำมูก มารดาเช็ดตัวและให้รับประทานยา Paracetamal 2 วันก่อน เด็กไม่ค่อยเล่น ซึมลง ไอมากขึ้น ยังมีไข้อยู่ มารดาจึงพาไปรักษาที่ รพ.สต. ใกล้บ้าน ได้ยาฆ่าเชื้อ ยาแก้ไอ กลับไปรับประทานที่บ้าน
อาการสำคัญที่นำมาโรงพยาบาล (CC)
CC: มีไข้ อ่อนเพลีย ไม่ยอมรับประทานอาหาร ไอเสียงดัง (barking cough) หายใจเหนื่อยหอบ 48 ชม. ก่อนมาโรงพยาบาล
S : -
O : -T 38.9 C
RR 40 bpm
อ่อนเพลีย