Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ประโยชน์การนําสมุนไพรไปใช้ใน งานสารณสุข, นางสาวบุศกร ชุ่มจิตร…
บทที่ 4 ประโยชน์การนําสมุนไพรไปใช้ใน
งานสารณสุข
การประยุกต์ใช้สมุนไพรในทางคลินิก
คัดเลือกยาสมุนไพรแทนยาแผนปัจจุบัน
คลินิกแผนไทย
การนวดรักษา
ประคบสมุนไพร
อบสมุนไพร
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสมุนไพร
สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณนาคุณภาพที่ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ
สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ
สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ :
สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา
สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย
มีการตรวจสอบเครื่องสำอางที่ผิดกฎหมาย
สมุนไพรที่เป็นข่าวดัง
การนำบอนโหรามาทำอาหาร เกิดจากความสับสนกับบอนออดิบที่สามารถกินได้ หากรับประทานบอนโหราเข้าไปจะทำให้เป็นอันตราย
น้ำตาลตกเพราะกินป่าช้าเหงา(หนานเฉาเหว่ย)
งานวิจัย
KAIZEN
หลักการ
จากง่ายไปยาก
ทีละนิดไม่หยุด
เน้นจากล่างขึ้นบน
ทำง่ายแต่คิดเยอะ
ต่อเนื่องอย่างเป็นระบบ
กลยุทธ์
เลิก
เลิกการทำงานที่ไม่มี standard
ลด
ลดความหลากหลายของแบบฟอร์ม
ลดความหลากหลายของสถานที่เก็บเอกสาร
เปลี่ยน
เปลี่ยนวิธีจัดเรียงเอกสาร
เปลี่ยนกระบวนการทำงานใหม่
เปลี่ยนวิธีจัดเก็บเอกสาร
เก็บผลงาน
เก็บทุกวัน
เก็บทุกเดือน
เก็บทุกปี
เปลี่ยนวิธีการลงบันทึกวันที่
งานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
นโยบาลรัฐ
สุขภาพทุกกลุ่มทุกวัย
การควบคุมป้องกันวัณโรค
จัดการภัยคุกคามความมั่นคงทางสุขภาพ
พัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิ
ลดแออัด ลดรอคอยในโรงพยาบาล
Fast Track
การเข้าถึงกัญชาทางการแพทย์
นวัตกรรมทางการแพทย์เพื่อเศรษฐกิจ
องค์กรคุณภาพ
นวัตกรรมการบริหารจัดการของเขตสุขภาพ
ปัญหาของชุมชน
เสียนตามสายเพื่อชุมชน
เยี่ยมบ้าน
ช่องทางการสื่อสารประชาสัมพันธ์
ติดต่อด้วยตนเอง
ตู้รับความคิดเห็น
เวทีประชาคม
คลินิกเกษตรเคลื่อนที่
จดหมาย
ข่าวสารจากสื่อมวลชน
ตู้ปณ. 1460
โทรศัพท์ / สายด่วน 1460
โทรสาร 0-2669-1460
เว็บไซด์/ อีเมล์
งานอบรม
นโยบายรัฐ
ปัญหาของชุมชน
หลักการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน
ข้อมูลที่ใช้ในการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
การวินิจฉัยปัญหาสุขภาพในชุมชน
ปัญหาสำคัญที่สุดในชุมชน
การว่างงาน
ยาเสพติด
เหตุการณ์ความไม่สงบ
ความยากจน
ไม่มีที่ทำกิน
ความไม่เป็นธรรมของเจ้าหน้าที่รัฐ
ความขัดแย้งในชุมชน
กลุ่มอิทธิพล
วิจัยรางจืด
พ.ศ.2521
นักวิจัยจากคณะแพทย์ศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ล.มหิดล
ผสมผงรากรางจืดกับน้ำยาตริกนินแล้วกิน ปรากฏว่าหนูไม่เป็นอะไร (แสดงว่าผงรากรางจืดสามารถดูดซับสารพิษชนิดนี้ไว้)
พ.ศ.2523
อ.พาณี เตชะเสนและคณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ใช้น้ำคั้นใบรางจืดป้อนหนูทดลองที่กิยาฆ่าแมลง โฟลิดอล
พลว่าแก้พิษได้ ลดอัตราการตายลงจาก 56% เหลือเพียง 5% เท่านั้น
พ.ศ.2551
สุชาสินี คงกระพันธ์
ใช้สารสกัดแห้งใบรางจืดป้อนหนูทดลองที่ได้รับยาฆ่าแมลงกลุ่มออร์แกนโนฟอสเฟตชื่อมาราไธออน
ช่วยชีวิตได้ 30%
พ.ศ.2553
จิตบรรจง ตั้งปอง ม.วลัยลักษณ์
พบว่าสารประกอบในใบรางจืดป้องกันการตายของเซลล์ประสาทของหนูทดลองที่ได้รับพิษจากสารตะกั่ว (จึงสามารถป้องกันสูญเสียการเรียนรู้และความจำได้อย่างมีนัยสำคัญ)
พ.ศ.2543
รายงานวิทยานิพนธมหาวิทยาลัยมหิดล
สารสกัดแห้งของน้ำใบรางจืด
ลดความเป็นพิษของตับจากแอลกอฮอล์ได้
สารสกัดน้ำใบรางจืด
มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ
ความเป็นพิษ
ป้อนหนูทดลองครั้งเดียว ขนาดปกติ / ขนาดสูง
ไม่พบอาการผิดปกติ✅
ป้อนติดต่อกัน 28 วัน ขนาด 500 มก.ต่อ 1กก.
น้ำหนัก ตับ ไต สูงกว่ากลุ่มควบคุม❌
ค่าชีวเคมีที่เกี่ยวกับไตสูงขึ้น และ AST สูงขึ้น❌
การทดลองในคน
นพ.ปัญญา อิทธิธรรม
ทดลองเก็บข้อมูลการใช้สมุนไพรรางจืดในเกษตรกร ซึ่งสัมผัสสารฆ่าแมลง
พบว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างกลุ่มที่กินและไม่ได้กินสารสกัดน้ำรางจืด แต่ยังสรุปไม่ได้ชัดเจนเพราะมีปัจจัยที่แตกต่างของพื้นฐานของร่างกายอื่นๆของอาสาสมัคร เช่น ความแข็งแรง อายุ เป็นต้น
กุมภาพันธ์ 2551
น้ำคั้นใบรางจืด
ช่วยชีวิตผู้ป่วยอาการหนักมากจากพิษแมงดาทะเล
การใช้สมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารอย่างปลอดภัยในผู้ป่วยโรคตับและไต
ชาชงหรือสมุนไพรที่มีฤทธิ์ขับปัสสาวะไม่ช่วยให้ไตทำงานได้ดีขึ้น
ข้อควรระวัง
ไม่ขับโพแทสเซียม
ทำให้เกิดภาวะขาดน้ำ ทำให้ไตวายเฉียบพลัน
รางจืดไม่สามารถขับสารพิษในคนไข้โรคไตได้
ไม่แนะนำให้คนไข้โรคไตสามารถใช้สมุนไพรสำหรับdetox
สมุนไพรที่ต้องระวังในผู้ป่วยโรคไต
เถาวัลย์เปรียง
หญ้าไผ่น้ำ
ปอบิด
มะขามแขก
มะเฟือง
ลูกยอน้ำ
นางสาวบุศกร ชุ่มจิตร 62111301044