Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pathology of Kidney and Urinary bladder system - Coggle Diagram
Pathology of Kidney and Urinary bladder system
เนื้อไตชั้นใน (renal medulla): บริเวณที่เป็นสามเหลี่ยมที่คล้ายกลับแถบรังสี เรียกว่า “renal pyramid”
antidiuretic hormone/Vasopressin(ADH)
กระตุ้นการดูดซึมนํ้ากลับสู่กระแสเลือดบริเวณท่อรวม (collecting duct) ของหน่วยไต ซึ่งช่วยรักษาสมดุลนํ้าในร่างกาย
Aldosterone เพิ่มการดูดกลับของ Na+ และเพิ่มการขับ K+ ที่ หลอดไต (distal renal tubules) ท าให้ Na+เพิ่มขึ้นในกระแสเลือดและมี K+มากขึ้นในปัสสาวะ
Function of urinary system
• กรองและขับของเสียออกจากร่างกายทางปัสสาวะ
• ควบคุมสมดุลของนํ้าและ Electrolytes
• ควบคุมสมดุลกรดด่างของร่างกาย
• ควบคุมความดันโลหิตในร่างกาย
• สังเคราะห์ฮอร์โมนที่สำคัญในร่างกาย ได้แก่ erytropoitin, renin
• ช่วยกำจัดสารพิษในร่างกาย
• ผลิตactive vitamin D เพื่อช่วยในการดูดซึม Ca2+ ที่ผนังลำไส้เล็ก
Renal function test
การตรวจดูสมรรถภาพการทำงานของไต
Blood urea nitrogen
ระดับ BUN ในเลือดที่เพิ่มขึ้น สามารถแสดงภาวการณ์ทำงานของไตที่ลดลง และการเพิ่มเมตาบอลิซึมของไนโตรเจนจากอาหาร
Serum creatinine
ระดับ Cr ในเลือดจะไม่เปลี่ยนแปลงจากอาหารหรือปัจจัยที่มีผลต่อการไหลเวียนเลือดเหมือน ระดับ BUNจึงสามารถใช้แสดงผลการทำงานของไตได้ แต่ไม่รวดเร็วนัก
Estimated glomerular filtration rate : eGFR
การตรวจหาค่าอัตราการไหลของเลือดผ่านตัวกรองไตในหนึ่งนาที โดยเป็นค่าที่ได้จากการคำนวณ Creatinineเพศ อายุ และเชื้อชาติของผู้รับการตรวจแต่ละคน (ค่า Creatinine ยิ่ง สูง จะยิ่งทำให้ GFR มีค่าตํ่า)
Pathology of Kidney
ความผิดปกติของระดับสารต่างๆ ภายในเลือด
Hypernatremia
ภาวะที่ร่างกายมีปริมาณโซเดียมในเลือดเกินค่ามาตรฐาน (Normal 135-145 mmol/L )
Hyponatremia
ที่ร่างกายมีปริมาณโซเดียมในเลือดตํ่ากว่าค่ามาตรฐาน (Normal 135-145 mmol/L )
Hyperkalemia
ภาวะที่มีปริมาณโพแทสเซียมในเลือดสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน (Normal 3.5-5.0 mmol/l)
Hypokalemia
ภาวะที่มีปริมาณโพแทสเซียมในเลือดตํ่าเกินเกณฑ์มาตรฐาน (Normal 3.5-5.0 mmol/l)
Uremia
อาการเป็นพิษในเลือดที่เกิดจากสาร อันได้แก่ Urea/Creatinine ตกค้างอยู่ในเลือด โดยเฉพาะอย่างยิง Urea
Kidney failure
ภาวะที่ไตเสียหน้าที่ในการขับของเสียที่เกิดจากการเผาผลาญอาหารออกจากกระแส เลือด จึงส่งผลให้เกิดการสูญเสียความสมดุลของสารนํ้า electrolytes และกรดด่างๆในร่างกาย ไตวายแบ่งได้เป็น 2ชนิดคือ
1.ไตล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute renal failure)
2.ไตล้มเหลวเรื้อรัง (Chronic renal failure)
Acute renal failure (ARF)
ภาวะไตสูญเสียหน้าที่ทันทีทันใด ทำให้มีการคั่งของของเสียในร่างกาย ส่งผลกระทบ ต่อระบบประสาท หัวใจ หายใจ นํ้าและ electrolytes หากได้รับการรักษาทันท่วงที ไตก็จะสามารถ กลับมาทำหน้าที่ได้อย่างเดิม
Sign & symtoms:
•ปัสสาวะน้อยลง หรือไม่ปัสสาวะเลย
•บวมที่ขาและเท้า
Complication:
•ภาวะนํ้าท่วมปอด ภาวะไตวายเฉียบพลันสามารถส่งผลให้เกิดของเหลวส่วนเกินภายในร่างกายล้นเข้า
ไปในช่องเยื่อหุ้มปอดทำให้หายใจลำบาก และอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต
•เจ็บหน้าอก เมื่อร่างกายไม่สามารถขับของเสียออกจากร่างกายได้ ของเสียจะคั่งอยู่ในกระแสเลือด หาก
ของเสียเหล่านั้นเข้าสู่หัวใจ อาจทำให้เกิดภาวะเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบจนท้าให้รู้สึกเจ็บหน้าอกได้
•กล้ามเนื้ออ่อนแรง ภาวะไตวายจะทำลายสมดุลของสารต่าง ๆ ในร่างกาย
•ไตถูกทำลายอย่างถาวร ในภาวะไตวายเฉียบพลัน ไตอาจยังไม่ถูกทำลาย แต่ถ้าได้รับการรักษาที่ ล่าช้าก็
จะทำให้ไตถูกทำลายอย่างถาวรและกลายเป็นไตวายเรื้อรังได้
Chronic renal Failure (CRF)
ไตล้มเหลวเรือรัง เป็นภาวะที่ไตสูญเสียหน้าที่อย่างช้าๆ และเป็นไปอย่างถาวร มีการทำลายเนื้อไต ติดต่อกันเป็นเวลานานไม่สามารถกลับคืนสู่สภาพปกติได้
Sign & symtoms:
•ระยะที่ 1 ในช่วงแรกของอาการไตวายเรื้อรัง จะไม่มีอาการแสดงให้เห็นชัดเจน แต่สามารถทราบได้ด้วยวิธีการตรวจทางพยาธิวิทยา
•ระยะที่ 2 เป็นระยะที่การทำงานของไตเริ่มลดลง แต่ยังไม่มีอาการใด ๆ
•ระยะที่ 3 ในระยะนี้ ไม่มีอาการใด ๆ แสดงให้เห็น ค่าการทำงานของไต 30-59 ml/min นอกจากค่าการทำงานของไตที่ทำงานลดลงอย่างต่อเนื่อง
•ระยะที่ 4 อาการต่าง ๆ จะแสดงในระยะนี้ อาการมึนงง เบื่ออาหาร นํ้าหนักลด ผิวแห้งและคัน กล้ามเนื้อเป็น ตะคริวบ่อยขึ้น มีอาการบวมตามข้อ ขา และเท้า
•ระยะที่ 5 เป็นระยะสุดท้ายของภาวะไตวาย นอกจากอาการที่คล้ายกับระยะที่ 4 แล้ว อาจมี ภาวะโลหิตจางที่รุนแรงขึ้น
Complication:
•โรคหัวใจและหลอดเลือด
• โรคโลหิตจาง
•โรคกระดูกพรุน
Renal Failure
Hemodialysis: การบำบัดไตโดยใช้เครื่องไตเทียมมาฟอกเลือดขจัดของเสียเพื่อรักษาสมดุลของนํ้าและกรดด่างในร่างกาย
Continuous ambulatory peritoneal dialysis (CAPD):
การทำ dialysis วิธีหนึ่งที่ผู้ป่วยทำด้วยตนเองที่บ้านได้ โดยใช้ผนังเยื่อบุช่องท้องเป็นตัวกรองของเสียนํ้าและเกลือแร่
Renal transplantation:
การผ่าตัดเปลี่ยนถ่ายไต เป็นวิธีการรักษาที่ดีที่สุดเพราะสามารถ สังเคราะห์วิตามินดี และฮอร์โมน Erythropoietin ได้
Pathology of Kidney
ความผิดปกติของสารต่างๆภายในปัสสาวะ
•Hematuria
ปัสสาวะเป็นเลือด คือ การมีเม็ดเลือดแดงปนออกมากับปัสสาวะ > 8000 cell/mlอาจเห็นชัดเป็น เลือดสดๆ (Gross hematuria) หรือเห็นเมื่อดูจากกล้องจุลทรรศน์ (Microscopic hematuria)
•Proteinuria
ภาวะที่มีโปรตีนในปัสสาวะมากกว่า 150 มิลลิกรัมต่อวัน โดยปกติสามารถตรวจพบ โปรตีนได้ ประมาณวันละ 40-80 mg
•Glucosuria
การมีระดับนํ้าตาลในเลือดสูงเกินระดับที่ไตสามารถกรองได้ > 160 mg/dl ในเลือดดำ
•Ketonuria
การตรวจพบคีโตนในปัสสาวะ > 20 mg/dl เนื่องจากการเผาผลาญพลังงานจาก คาร์โบไฮเดรตในร่างกายไม่สมบูรณ์
•Polyuria
ภาวะที่มีการขับถ่ายปัสสาวะมากกว่าวันละ 1,500 ml โดยไม่ได้เกิดจากการดื่มนํ้ามาก
•Oliguria
ภาวะปัสสาวะน้อยกว่าปกติ (< 20 ml/hr) < 400 ml/day ถ้า < 100 ml/day
•Anuria
Voiding dysfunction
Nocturia
อาการที่ตื่นในตอนกลางคืนเพื่อปัสสาวะมากกว่า 1 ครั้ง โดยเกิดจากร่างกายผลิต ปัสสาวะมากเกินไป
Dysuria
ปัสสาวะลำบาก ปวดขณะถ่ายปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย (frequency) และ อยากถ่ายปัสสาวะทันทีทันใด (urgency) อาการปวดมักจะสัมพันธ์กับการบีบตัว ของกระเพาะปัสสาวะ
Retention of urine
การที่มีปัสสาวะคั่งอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ ไม่สามารถทำให้กระเพาะปัสสาวะว่าง หรือภาวะที่ไม่มีการถ่ายปัสสาวะ ภายใน 8-10ชั่วโมงของการถ่ายปัสสาวะครั้งสุดท้าย
Urinary incontinence
สภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่: ภาวะที่มีปัสสาวะออกมาจากท่อปัสสาวะโดยไม่สามารถควบคุมได้
ปัสสาวะเล็ดขณะออกแรง (stress incontinence)
ปัสสาวะเล็ดทันทีเมื่อปวดปัสสาวะ (urgency incontinence)
ปัสสาวะเล็ดตลอดเวลาเนื่องจากมีปัสสาวะค้างในกระเพาะปัสสาวะ (overflow incontinece)
ปัสสาวะเล็ดจากภาวะหรือโรคทางกาย ที่ ไม่ใช่ความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง (functional incontinence)
Urinary incontinence
Sign & symptoms:
•ปวดปัสสาวะรุนแรงแล้วราดออกมา
•ไอ จาม ปัสสาวะเล็ด
•ปัสสาวะไหลรินออกมาโดยไม่รู้ตัว
•ปัสสาวะเล็ดราดหลังการถ่ายปัสสาวะสุด
Other of disease in KUB
Kidney Stones
นิ่วในไต
สามารถจำแนกได้เป็น 2 ชนิด ตามตําแหน่งที่พบในทางเดินปัสสาวะ ดังนี้
1.โรคนิ่วทางเดินปัสสาวะส่วนบน คือ นิ่วที่พบบรเิวณ กลีบกรวยไต (renal calyces) กรวยไต (renal pelvis) และท่อไต (ureter)
โรคนิ่วทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง คือ นิ่วที่พีบบรเิวณ กระเพาะปัสสาวะ (bladder) และบรเิวณท่อปัสสาวะ (urethra)
แคลเซียม
ก้อนนิ่วจากแคลเซียมเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด พบประมาณ 75% และส่วนมากมักเป็นก้อนนิ่ว จากแคลเซียมที่รวมกับออกซาเลต ซึ่งเป็นสารที่มักพบในอาหารและเครื่องดื่มที่นิยมดื่มกัน
•กรดยูริก
พบประมาณ 10% ก้อนนิ่วชนิดที่พบได้ในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง
•สตรูไวท์
พบประมาณ 14%เป็นนิ่วที่ส่วนใหญ่พบในผู้หญิงที่มีการติดเชื้อที่ระบบทางเดินปัสสาวะ
•ซีสทีน
พบประมาณ 1% นิ่วชนิดนี้พบได้ไม่บ่อย เกิดขึ้นได้ทั้งกับเพศชายและเพศหญิงที่มีความ ผิดปกติทางพันธุกรรมของซีสทีน
Urinary tract infections
•ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง (Lower urinary tract infection):
•ติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบน (Upper urinary tract infection)
Horseshoe kidney
การเชื่อมกันของไตสองข้างตั้งแต่กำเนิด โดยมากมักเป็นขั้วล่างเชื่อมกัน ส่วน ใหญ่ไม่มีอาการ
Renal cell carcinoma
Urinary bladder carcinoma
บางรายมีการลุกลามของมะเร็งลงไปยังชั้นกล้ามเนื้อชั้นกลาง เยื่อหุ้มชั้นนอก ชั้นไขมันรอบ กระเพาะปัสสาวะ รวมถึงอวัยวะข้างเคียง
Rhabdomyolysis
ภาวะที่กล้ามเนื้อลายส่วนที่เสียหายสลายตัวแล้วปล่อยสารที่อยู่ภายในเซลล์เข้าสู่
กระแสเลือดจนอาจทำให้ไตวายได้