Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 13 ความหมาย และขอบเขตของการบริหารจัดการห้องเรียน - Coggle Diagram
บทที่ 13 ความหมาย และขอบเขตของการบริหารจัดการห้องเรียน
วัตถุประสงค์
ตระหนักถึงความสำคัญของมโนทัศน์และขอบเขตของการบริหารจัดการในห้องเรียน
เข้าใจทักษะพื้นฐานที่จำเป็นในการบริหารจัดการในห้องเรียน
ใช้ทักษะเหล่านี้ในการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพแก่ผู้เรียน
ความหมายและขอบเขตของการบริหารจัดการ
การบริหารจัดการ หมายถึงรูปแบบของกระบวนการทำงานอันเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มคนจำนวนมากและเป็นศาสตร์อย่างหนึ่งอันเป็นความรู้ที่ทำให้ภารกิจบรรลุผลสำเร็จได้ด้วยดี
ขอบเขตของการบริหารจัดการในห้องเรียน
การบริหารจัดการในห้องเรียนที่มีประสิทธิภาพมี 3 มุมมองสําคัญ
มโนทัศน์ของการบริหารจัดการในห้องเรียน
การบริหารจัดการห้องเรียนกับครูใหม่
การบริหารจัดการห้องเรียนกับการจัดการเรียนการสอน
มโนทัศน์ของการบริหารจัดการห้องเรียนมีความเห็นหรือความคิดที่กว้างกว่าวินัยของผู้เรียน ผู้เรียน เกเร การให้รางวัลและทําโทษ ครควรกระทําสิ่งต่อไปนี้
สร้างสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้
บ่มเพาะผู้เรียนให้เกี่ยวข้องและให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมห้องเรียน
เชื่อมั่นว่าผู้เรียนทุกคนกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้
ส่งเสริมให้รักเรียนมีวินัยต่อตนเอง เข้าใจตนเอง ประเมินตนเองและควบคุมตนเอง
จัดห้องเรียนให้เคลื่อนไหวตลอดเวลาให้สัมพันธ์กับความรู้สึก ความเคารพ และความน่าเชื่อถือ การพูดคุยระหว่างครูกับผู้เรียน การควบคุมเสียง การเปลี่ยนพฤติกรรมและวินัย
รูปแบบและการเสริมแรงมีคุณค่าต่อการให้ความเคารพ ความซื่อสัตย์ และพฤติกรรมที่ เหมาะสมกับโอกาส
ความรู้ที่ใช้เป็นฐานในการบริหารจัดการห้องเรียนได้แก่
ควรจัดให้มีข้อแนะนําเกี่ยวกับหลักการการ สอนต่างๆ ที่ประสบความสําเร็จในการสอน
ความเข้าใจในการบริหารจัดการในห้องเรียน
การวางแผน
การบริหารจัดการด้านการสนับสนุน
การบริหารจัดการด้านการป้องกัน
ครอบคลุมถึงการสอนแบบต่าง ๆ และทักษะการบริหารจัดการในห้องเรียน ความรู้และทักษะอื่น ๆ ที่ครูพึงมี ครูต้องได้รับการฝึกหัดนําความรู้ และทักษะเพื่อทําให้การสอนมีประสิทธิภาพ
การบริหารจัดการด้านพฤติกรรม
ลักษณะการบริหารจัดการห้องเรียนในศตวรรษที่ 21
การเผชิญหน้าของโลกาภิวัตน์ในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา ครูต้องได้รับการฝึก ทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา ครูจําเป็นต้องฝึกทักษะและมีความรู้ที่งาน เทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้ให้การศึกษามีประสิทธิภาพ
บทบาทของครูในฐานะนักบริหารจัดการที่มีภารกิจในห้องเรียน
บทบาทในด้านความสัมพันธ์ระหว่างกัน
บทบาทเป็นพระอันดับ
บทบาทเป็นผู้นํา
บทบาทเป็นคนกลาง
บทบาทด้านข้อมูล
บทบาทการรวบรวมข้อมูล
บทบาทการกระจายหรือแจกจ่ายข้อมูล
บทบาทการให้ข้อมูล
บทบาทด้านการตัดสินใจ
บทบาทเป็นผู้คิดริเริ่มกิจการ
บทบาทนักแก้ปัญหา
บทบาทเป็นนักแบ่งสรรทรัพยากร
บทบาทเป็นนักเจรจาข้อขัดแย้ง