Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pathology of Kidney and Urinary bladder system, นางสาวชมพูนุช …
Pathology of Kidney and Urinary
bladder system
Pathology of Kidney
ความผิดปกติของระดับสารต่าง ๆ ภายในเลือด
Hypernatremia ภาวะที่ร่างกายมีปริมาณโซเดียมในเลือดเกินค่ามาตรฐาน (ปกติ 135-145 mmol/L)
Cause
รับประทาน Na2+ เกิน
ขาดน้ำ (dehydration)
สูญเสียน้ำ เช่น vomit, diarrhea, burn
Effect
ส่งผลที่เลือดที่ไหลเวียนผ่านไตที่มีความเข้มข้นสูง ไตจึงสร้างปัสสาวะมากขึ้น จากการเพิ่มความเข้มข้นของปัสสาวะ ทำให้ความเข้มข้นของเลือดสูงขึ้น แสดงอาการขาดน้ำ
Hyponatremia ภาวะที่ร่างกายมีปริมาณโซเดียมในเลือดต่ำกว่าค่ามาตรฐาน (ปกติ 135-145 mmol/L)
Cause
: เกิดจากความผิดปกติที่ไตขับน้ำออกจากร่างกาย
มีการเพิ่มการสร้างและหลั่ง ADH
ลดการดูโซึมโซเดียมและคลอไรด์ ที่ thick ascending limb of Henle’s loop ทำให้ collecting duct
ดูดนำ้กลับภายใต้อิทธิพล ADH ลดลง
ภาวะไตวาย
Hyperkalemia ภาวะที่ร่างกายมีปริมาณโพแทสเซียมในเลือดสูงเกินค่ามาตรฐาน (normal 3.5-5.0 mmol/L)
Cause:
ความบกพร่องของระบบ RAAS
ลด RBF หลอดเลือดฝอยส่วนต้นและห่วง Henle’s loop จึงปรับตัวดูดซึม Na2+ กลับมากขึ้นทำให้สารที่ถูกกรองมารวมกันที่ไตด้านนอก มีขับ K+ ลดลง ในให้ในเลือด K+ สูงขึ้น
ไตวาย
Hypokalemia ภาวะที่ร่างกายมีปริมาณโพแทสเซียมในเลือดต่ำกว่าค่ามาตรฐาน (normal 3.5-5.0 mmol/L)
Cause:
ความบกพร่องของระบบ RAAS
ปริมาณ HCO3
ในปัสสาวะเพิ่มขึ้น จึงมีผลให้ไตขับ K+ ออกจากร่างกายเพิ่มขึ้น
ภาวะ Mg 2+ ในเลือดต่ำ (hypermagnesemia) จึงปิดช่องการรดูดกลับ K+เข้าร่างกายที่ Henle’s ส่วนหนาที่ทอดขึ้น และกระตุ้นให้ต่อมหมวกไตหลั่ง aldosterone เพิ่มขึ้น
ภาวะ Ca2+ ในเลือดสูง (hypercalcium) ทำให้ทำลายเซลล์เยื่อบุหลอดฝอยไต
Uremia
อาการเป็นพิษในเลือดที่เกิดจากสาร ได้แก่ Urea/Creatinine ตกค้างอยู่ในเลือด โดยเฉพาะอย่างยิง Urea สืบเนื่องมาจาการป่วยเป็นโรคไต ทำให้ร่างกายไม่สาารถขับ Urea ออกได้ ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการผิดปกติทางสมอง ร่างกาย อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ กระสบกระส่าย
Kidney failure ไตเสียหน้าที่
Acute renal failure (ARF) ภาวะไตสูญเสียหน้าที่ทันทีทันใดทำให้มีการคั่งของของเสียในร่างกาย ส่งผลกระทบต่อระบบประสาท หัวใจ หายใจ น้ำและ electrolytes รักษาทันท่วงทีไตก็สามารถกลับมาเป็นปกติ
อาการ ; ปัสสาวะน้อยลง หรือไม่ปัสสาวะเลย บวมที่ขา เท้า เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน อ่อนเพลีย ปวดหลังบริเวณชายโครง หายใจถี่ ถ้ารุนแรงชัก
รักษาตามสาเหตุ ร่วมกับการฟอกไต
อาการแทรกซ้อน ; น้ำท่วมปอด เจ็บหน้าอก กล้ามเนื้ออ่อนแรง ไตถูกทำลายอย่างถาวร
Chronic renal Failure (CRF) ไตล้มเหลวเรื้อรัง ไตสูญเสียหน้าที่อย่างช้า ๆ และไปอย่างถาวร ไม่สามารถกลับคืนสู่สภาพปกติได้
อาการ ; อาการของไตวายเรื้อรังจะแบ่งออกเป็นระยะ มี 5 ระยะ
ระยะที่ 1 ไม่มีอาการชัดเจน ค่า eGFR 90 ml/min อาจพบไตอักเสบ โปรตีนรั่วออกมาปนในปัสสาวะ
ระยะที่ 2 ไม่ชัดเจน ค่าการทำงานของไต 60-89
ml/min
ระยะที่ 3 ไม่มีอาการใด ๆค่าการทำงานของไต 30-59 ml/min
ระยะที่ 4 อาการต่าง ๆ แสดงในระยะนี้ ค่าการทำงาน 15-29 ml/min มีอาการมึนงง เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ผิวแห้งและคัน กล้ามเนื้อเป็นตะคริวบ่อยขึ้น มีอาการบวมตามข้อ ขา และเท้า ใต้คล้ำ ปวดปัสสาวะบ่อย
ระยะที่ 5 ระยะสุดท้าย อาการคล้ายที่กับระยะที่ 4 แล้ว อาจมีภาวะโลหิตจางที่รุนแรงขึ้น ภาวะกระดูกบางปละเปราะหักง่าย ไม่ได้รับการรักษา อาจะเสียชีวิตได้
การรักษา
ไตวาย 1-3 ไม่จำเป็นต้องรักษา ต้องพบแพทย์เพื่อตรวจสอบการทำงานของไต
ไตวาย 4-5 ภาวะที่ไตทำงานลดลงอย่างมาก ต้องใช้รักษาหลายวิธีร่วมกัน เพื่อประครองอาการ เพื่อรอการผ่าตัด ปลูกถ่ายไต ต้องมีการเฝ้าระวัง
ภาวะแทรกซ้อน
โรคหัวใจหลอดเลือด
โรคโลหิตจาง
โรคกระดูกพรุน
Renal Failure
Hemodialysis การบำบัดไตโดยใช้เครื่องไตเทียมมาฟอกเลือดขจัดของเสียเพื่อรักษาสมดุลของน้ำและกรดด่างในร่างกาย
Continuous ambulatory peritoneal dialysis (CAPD) การทำ dialysis
Renal transplantation การผ่าตัดเปลี่ยนไต
Pathology of Kidney
ความผิดปกติของสารต่าง ๆ ภายในปัสสาวะ
Hematuria ปัสสาวะเป็นเลือด มีเม็ดเลือดแดงปนออกมากับปัสสาวะ > 8000 cell/ml อาจะเป็นเลือดสด ๆ
Cause:
มีการบาดเจ็บที่ระบบทางเดินปัสสาวะ
มีการอักเสบ
มะเร็งระบบทางเดินปัสสาวะ
การตายของ basement membrane ของ glomerulus
Proteinuria โปรตีนในปัสสาวะมากกว่า 150 ml/day ปกติ 40-80 mg ปริมาณเลือดลดง พลังงานในการดึงโปรตีนน้อยลง โปรตีนเลยออกมาในปัสสาวะ
•Transient proteinuria: ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะชั่วคราว
Persistent proteinuria: ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะทุกครั้งที่มีการตรวจ
Glucosuria น้ำตาลในเลือดสูงเกินระดับที่ไตสาารถกรองได้ > 160 mg/dl
Ketonuria การตรวจพบคีโตนในปัสสาวะ > 20 mg/dl พบในผู้ป่วยเบาหวานที่อดอาหาร
Polyuria ภาวะที่มีการขับถ่ายปัสสาวะมากกว่าวันละ 1,500 ml โดยไม่ได้เกิดจากการดื่มน้ำ เกิดจาก ปัสสาวะมากจากการเพิ่มปริมาณน้ำในร่างกาย และความเข้มข้นของปัสสาวะ
Oliguria ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ (< 20 ml/hr) < 400 ml/day ถ้า
< 100 ml/day → “Anuria” สาเหตุจาไตวาย ดื่มน้ำน้อยมาก
Voiding dysfunction
Nocturia อาการตื่นในตอนกลางคืนเพื่อปัสสาวะมากกว่า 1 ครั้ง โดยเกิดจากร่างกายผลิต ปัสสาวะมากเกินไป ส่วนมากเกิดกับผู้สูงอายุ
สาเหตุ จากพฤติกรรมการใช้ชีวิต อายุ การใช้ยา การเจ็บป่วยต่าง ๆ การตั้งครรภ์
Dysuria ปัสสาวะลำบาก ปวดขณะถ่ายปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย อยากถ่ายปัสสาวะทันทีทันทีทันใด
เกิดจากการอักเสบของกระเพาะปัสสาวะปัสสาวะ การอักเสบของท่่อปัสสาวะ ท่อปัสสาวะได้รับอันตราย อาจเกิดขึ้นชั่วคราวภายหลังร่วมเพศ
Retention of urine การที่ีปัสสาววะคั่งอยู่ใน กระเพาะปัสสาวะ ไม่สามารถทำให้กระเพาะปัสสาวะว่าง หรือภาวะที่ไม่มีการถ่ายปัสสาวะ ภายใน 8-10 ชั่วโมงการถ่ายปัสสาวะครั้งสุดท้าย
สาเหตุ การบวมบริเวณท่อปัสสาวะ ต่อมลูกหมากโต กระเพาะปัสสาวะอักเสบ ระบบประสาทเสียหน้าที่ เกิดชั่วคราวหลังทำการผาตัด
•Urinary incontinence ปัสสาวะกกลั้นไม่อยู่
2.ปัสสาวะเล็ดทันทีเมื่อปวดปัสสาวะ
3.ปัสสาวะเล็ดตลอดเวลาเนื่องจากมีปัสสาวะค้างในกระเพาะปัสสาวะ
1.ปัสสาวะเล็ดขณะออกแรง
4.ปัสสาวะเล็กจากภาวะหรือโรคทางกายที่ไม่ใช่ความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง
สาเหตุ DIAPPERS ภาวะทางสมอง ติดเชื้อในกระเพาะ มีการติดเชื้อที่ Vagina ยาลดความโลหิต จิตเวช เบาหวาน Storkeติดเตียง ก้อนอุจจาระมาก
อาการ ปวดปัสสาวะรุนแรง ไอจาม ปัสสาวะเล็ด ปัสสาวะไหลไม่รู้ตัว ปัสสาวะเล็ดหลังถ่ายปัสสาวะสุด
การรักษา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ออกกำลังกายด้วยการขมิบกล้ามเนื้อ การรักษาด้วยยา การผ่าตัด
Other of disease in KUB โรคอื่น ๆ
Kidney Stones นิ่วในไต โรคที่กเิดจากแร่ธาตุชนิดต่าง ๆ รวมตัวกันเป็นก้อน พบได้ตลอดทางเดินปัสสาวะ
โรคนิ่วทางเดินปัสสาวะส่วนบน
โณคนิ่วในไตส่วนล่าง
อาการ ปวดบริเวรหลังหรือช่องท้องด้านล่างข้างใดข้างหนึ่ง อาจปวดร้าวบริเวณขาหนีบ ปวดบีบเป็ฯระยะ ปวดรุนแรงบางช่วง ปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะแล้วเจ็บ ปัสสาวะบ่อย น้อย ขุ่น กลิ่นแรง คลื่นไส้ อาเจียน หนาวสั่นเป็นไข้
การรักษา ถ้าเล็กกว่า 5 มิล ให้อื่มน้ำมาก ๆ ทานยาแก้ปวด ยาขับนิ่ว ถ้ามากกว่า 5 มิล ใช้คลื่นเสียงแตกตัวก้อนนิ่ว ผ่าตัดเอาออก การส่องกล้อง
อาการแทรกซ้อน Hematuria
UTI Kidney failure
Urinary tract infections การติดเชื้อรรบทางเดินปัสสาวะ
ส่วนบน มีไข้ ปวดหลัง ปวดสีข้าอาการทาง systemic, leukocytosis แสดงถึง ง acute pyelonephritis intrarenal abscess หรือ perinephric abscess
ส่วนล่าง ปัสสาวะแสบขัด บ่อย ไม่มีไข้หนาวสั่น หรือ อาการปวดหลังอาการเหล่านี้แสดงถึง cystitis, urethritis หรือ prostatitis
การแบ่งการติดเชื้อตามสภาวะของผู้ป่วย ; ไม่ซับซ้อน ติดเชื้อในคนแข็งแรง , ซับซ้อน ติดเชื้อในคนอ่อนแอ
ติดทางเลือด น้ำเหลือง แพร่กระจายขึ้นโดยตรง
พยาธิ ; Significant Bacteriuria , Asymptomatic bacteriuria , Pyuria , Acute pyelonephritis , Chronic pyelonephritis , Cystitis , Urethritis
รักษาตามอาการ , ยาปฏิชีวนะ
Horseshoe kidney การเชื่อมกันของไตสองข้างตั้งแต่กำเนิด
Renal cell carcinoma มะเร็งไต พบในเพศชายากกว่าหญิงสองต่อหนึ่ง
ปัจจัยเสี่ยง การสูบบุหรี่ กลุ่มโรคบางโรค โลหะหนัก รังสีจากสาร
อาการ ปัสสาวะเป็นเลือด ไข้ ปวด คลำได้ก้อน พบโดยบังเอิญ
•Urinary bladder carcinoma มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
อาการ ปัสสาวะปนเลือด ปัสสาวะบ่อย กลั้นปัสสาวะไม่ได้-แสบขัด ปวดกระดูกเนื่องจากการกระจายของมะเร็ง
Rhabdomyolysis ภาวะกล้ามเนื้อสลาย
สาเหตุ ความผิดปกติทางพันธุกรรมของกล้ามเนื้อ , ความผิดปกติเกี่ยวกับระบบการเผาพลาญอาหาร ภาวะขาดน้ำ การออกกำลังกายที่ต้องออกแรง การติดเชื้อแบคทีเรีย การได้รับสารพิษ การใช้ยาบางชนิด
อาการ กล้ามเนื้ออ่อนแรงโดยเฉพาะแขนขา ปวดกล้ามเนื้อบริเวณหัวไหล่ ปัสสาวะเป็นสีน้ำตาลแดงหรือโคล่า กระหายน้ำ ปัสสาวะน้อย หัวใจเต้นเร็ว ชัก หมดสติ
การรักษา ; ยา , ผ่าตัด , ฟอกไต
นางสาวชมพูนุช เนียมรุ่งเรือง เลขที่ 13 รหัส 621401015