Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่1 การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจที่มีผลต่อการบริหารงานส่งเสริม …
หน่วยที่1 การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจที่มีผลต่อการบริหารงานส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
แนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง
ความหมาย
การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง รูปแบบของสังคม ระบบความสัมพันธ์และการปฏิสัมพันธ์ของคนในสังคม
องค์ประกอบ
ทิศทาง
ขนาด
ช่วงเวลา
อัตรา
ระดับ
ลักษณะ
ธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง
วิวัฒนาการ
ความก้าวหน้า
กระบวนการ
การพัฒนา
ปฏิกิริยาตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง
สิ่งเร้าทางจิตวิทยา
สิ่งเร้าทางวัฒนาธรรม
สิ่งเร้าทางสังคม
สิ่งเร้าทางเศรษฐกิจ
ปัจจัย
ด้านวัฒนธรรม
ด้านการเมืองการปกครอง
ด้านประชากร
ด้านเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทย สังคมโลก ที่มีผล
กระทบต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทย
ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
ด้านการจัดการบริหารปกครอง
ด้านทรัพยากรมนุษย์
ด้านระบบความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมโลก
กรอบแนวคิดศึกษาสังคมโลก
ความเป็นมาของสังคมโลก หลัง ค.ศ.2000
แนวทางการศึกษาสภาพสังคมโลกหลัง ค.ศ.2000
ปัจจัยของความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกหลัง ค.ศ.2000
สภาพความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกกับการเกษตรกรรม
การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกหลัง ค.ศ.2000
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและความมั่นคง
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทย เศรษฐกิจโลก ที่มีผลกระทบต่อการบริหารงานส่งแสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยที่มีผลต่อรูปแบบการผลิตทางการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยที่มีผลต่อรูปแบบการส่งเสริมการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจต่อโครงสร้างการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของโลก
การแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจเกิดใหม่
การสร้างสมดุลระหว่างมหาอำนาจเก่าและใหม่
การแข่งขันที่รุนแรงจากเศรษฐกิจเกิดใหม่
การบริหารความเสี่ยงจากความซับซ้อนของเศรษฐกิจโลก
การกีดกันทางการค้าและการให้ความช่วยเหลือโดยรัฐ
การรักษาความมั่นคงและยั่งยืนของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
ลักษณะ
ความสำคัญ
เป็นหนทางที่จะทำให้ประเทศสามารถพึ่งพาตนเองได้ทั้งด้านเศรษฐกิจและการเมือง
ช่วยปรับปรุงและยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชาชนในประเทศให้ดีขึ้น
ก่อให้เกิดความช่วยเหลือซึ่งกันและกันของประเทศต่างๆในโลกเพื่อพัฒนาให้เศรษฐกิจโลกเจริญเติบโตยิ่งขึ้น
ความหมาย
กระบวนการที่ทำให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติที่แท้จริงต่อหัวของประชาชนในประเทศเพิ่มขึ้นในระยะยาว ทั้งนี้ การกระจายรายได้ของประชาชนในประเทศจะต้องไม่ด้อยหรือเลวลงไปกว่าเดิม
ปัจจัย
ปัจจัยทางสังคม
หลังยุคฟองสบู่แตก
ยุคปัจจุบัน
ก่อนยุคฟองสบู่แตก
ปัจจัยทางธุรกิจและการค้า
ความได้เปรียบจากเทคโนโลยี
ความได้เปรียบจากตลาด
ความได้เปรียบจากกระบวนการ
ปัจจัยทางการเมือง
ระดับประเทศ
ระดับท้องถิ่น