Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pathology of Kidney and Urinary bladder system - Coggle Diagram
Pathology of Kidney and Urinary
bladder system
Function of urinary system
กรองและขับของเสียออกจากร่างกายทางปัสสาวะ
ควบคุมสมดุลของน้ำและ Electrolytes
ควบคุมสมดุลกรดด่างของร่างกาย
ควบคุมความดันโลหิตของร่างกาย
ช่วยกำจัดสารพิษในร่างกาย
Hypernatremia
ภาวะที่ร่างกายมีปริมาณโซเดียม (Normal 135-145 mmol/L ) ถ้ามากกว่า 145 จะมีภาวะโซเดียมสูง
cause: สูญเสียน้ำ เช่น vomit,diarrhea,burn เป็นต้น
Effect: ส่งผลทำให้เลือดที่ไหลเวียนผ่านไตมีความเข้มข้นสูง ไตจึงสร้างปัสสาวะมากขึ้น
ทำให้ความเข้มข้นของเลือดสูงขึ้น จึงมักแสดงอาการขาดน้ำร่วมด้วย
Hyponatremia
ร่างกายมีปริมาณโซเดียมต่ำกว่ามาตรฐาน
cause: เกิดจากความผิดปกติที่ไตขับน้ำออกจากร่างกายลดลง
Hyperkalemia
ภาวะที่มีปริมาณโพแทสเซียมในเลือดสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน (Normal 3.5-5.0 mmol/l)
cause : ลด RBF หลอดเลือดฝอยส่วนต้นและห่วง Henle's loop จึงปรับตัวดูดซึมโซเดียมกลับมากขึ้น
ความบกพร่องของระบบ RAAS
ความผิดปกติของหลอดเลือดฝอยในไตรวมบริเวณผิวนอกของไต
ภาวะไตวาย
Hypokalemia
ภาวะที่มีปริมาณโพแทสเซียมต่ำ
cause: การเพิ่มการทำงานของระบบ RAAS
ภาวะ Mg+2 ในเลือดต่ำ จึงปิดช่องทางการดูดกลับโพแทสเซียม
Uremia
อาการเป็นพิษในเลือดที่เกิดจากสาร Urea/Creatinine ตกค้างอยู่ในเลือด เนื่องมาจากการป่วยเป็นโรคไตในขั้นร้ายแรง ทำให้ร่างกายไม่สามารถขับ Urea ออกได้
Kidney failure
ภาวะที่ไตสียหน้าที่ในการขับของเสียที่เกิดจากการเผาผลาญอาหารออกจากกระแสเลือด จึงทำให้เกิดการสูญเสียความสมดุลของน้ำ ไตวายแบ่งได้ 2 ชนิด
1.ไตล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute renal failure)
2.ไตล้มเหลวเรื้อรัง (Chronic renal failure)
Acute renal failure (ARF)
ภาวะไตสูญเสียหน้าที่ทันที ทำให้มีการคั่งของเสียในร่างกาย ส่งผลกระทบต่อระบบประสาท หัวใจ หากได้รับการรักษาทันทีไตก็จะสามารถกลับมาทำหน้าที่ได้อย่างเดิม
Sign & symtoms: ปัสสาวะน้อยลง,บวมที่ขาและเท้า
เบื่ออาหาร,คลื่นไส้ อาเจียน,อ่อนเพลีย,ปวดหลังบริเวณชายโครง,หายใจถี่,ถ้าอาการรุนแรง->ชัก
Rx: รักษาตามสาเหตุ ร่วมกับการฟอกไต
Complication:ภาวะน้ำท่วมปอด,เจ็บหน้าอก,กล้ามเนื้ออ่อนแรง,ไตถูกทำลายอย่างถาวร
Chronic renal Failure (CRF)
ระยะที่ 1 ช่วงแรกของอาการไตวายเรื้อรัง ไม่มีอาการแสดงให้เห็นชัดเจน แต่สามารถทราบได้ ค่า eGFR อยู่คงที่ประมาณ 90 ml/min แต่อาจพบอาการไตอักเสบ พบภาวะโปรตีนรั่วออกมาปะปนในเลือดหรือในปัสสาวะ
ระยะที่ 2 เป็นระยะที่การทำงานของไตเริ่้มลดลง แต่ยังไม่มีอาการใดๆ ค่าการทำงานของไตจะอยู่ที่ 60-80 ml/min
ระยะที่ 3 ไม่มีอาการใดๆ การทำงานของไจ 30-59 ml/min
ระยะที่ 4 อาการต่างๆจะแสดงในระยะนี้ 15-29 ml-min อาจจะมีอาการมึนงง เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ผิวแห้งและคัน กล้ามเนื้อเป็นตะคริวบ่อยขึ้น ปวดปัสสาวะบ่อยแต่ปริมาณปัสสาวะน้อยลง โลหิตจางหรือรู้สึกไม่สบายเนื้อไม่สบายตัวตลอดเวลา
ระยะที่ 5 ภาวะไตวาย อาการคล้ายกับระยะที่ 4 พบการเสียสมดุลของแคลเซียม ฟอสเฟต หรือสารต่างๆที่อยู่ในเลือด นำสู่ภาวะกระดูกบางและเปราะหักง่าย หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันทีอาจเสียชีวิตได้
Rx : ไตวายระยะที่ 1-3 ไม่จำเป็นต้องการทำรักษา แต่จำเป็นที่จะต้องพบแพทย์เพื่อตรวจระบบการทำงานของไต ระยะทุกๆ 3 เดือน
ไตวายในระยะที่ 4-5 ไตทำงานลดลงอย่างมาก รอการผ่าตัดปลูกถ่ายไต มีการเฝ้าระวังภาวะบวมน้ำ กระดูกเปราะบาง โรคโลหิตจางและการติดเชื้อในไตร่วมด้วย
Pathology of Kidney
ความผิดปกติของสารต่างๆภายในปัสสาวะ
Hematuria:ปัสสาวะเป็นเลือด เม็ดเลือดแดงปนออกมากับปัสสาวะ > 8000 cell/ml อาจเห็นชัดเป็นเลือดสดๆ Gross hematuria
cause: การบาดเจ็บที่ระบบทางเดินปัสสาวะ,การอักเสบ
เลือดออกเมื่อถ่ายปัสสาวะตอนแรก: Urethra ส่วนกหน้า
เลือดออกชัดตลอดการถ่ายปัสสาวะ: Kidney, Ureter
เลือดออกตอนสุดท้ายของปัสสาวะ: Bladder, Urethra ส่วนหลัง
เลือดออกเมื่อถ่ายปัสสาวะตอนแรกและตอนหลัง:Urethra ส่วนหน้าและส่วนหลัง
Proteinuria:ภาวะที่มีโปรตีนในปัสสาวะมากกว่า 150 มิลลิกรัม/วัน ปกติสามารถตรวจพบโปรตีนได้ ประมาณวันละ 40-80 mg
cause:ระดับโปรตีนในพลาสมามาก,โปรตีนผ่านโกลเมอรูลัสเพิ่มขึ้น,ลดการดูดกลับที่หลอดเลือดฝอยไต
Pathophysiology:เมื่อปริมาณเลือดลดลงเซลล์หลอดเลือดฝอยส่วนต้น ต้องอาศัยออกซิเจนและสารอาหารจากเลือด ส้รางพลังงานในการดึงโปรตีนจากสารที่ผ่านการกรองกลับสู่ร่างกายทำงานได้ลดลงจึงสูญเสียโปรตีนออกมาทางปัสสาวะ
Glucosuria:มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินระดับไตสามารถกรองได้ > 160 mg/dl ในเลือดดำ
Ketonuria:ตรวจพบคีโตนในปัสสาวะ > 20 mg/dl เนื่องจากการเผาผลาญพลังงานจากคาร์โบไฮเดรตในร่างกายไม่สมบูรณ์ จึงเกิดการใช้พลังงานจากไขมันและโปรตีนในร่างกายขึ้น เนื่องจากโมเลกุลคีโตมีคุณสมบัติเป็นกรด จะพบในผู้ป่วยเบาหวานหรือผู้ที่อดอาหารหรือผู้ที่รับประทานโปรตีนมากๆ
Polyuria: ภาวะที่มีการขับถ่ายปัสสาวะมากกว่าวันละ 1500 ml โดยไม่ได้เกิดจากการดื่มน้ำมาก
cause:ปัสสาวะมาจากการเพิ่มปริมาณน้ำในร่างกาย
ปัสสาวะมากจากการเพิ่มความเข้มข้นของปัสสาวะ เช่น น้ำตาล ยูเรีย
Oliguria: ภาวะปัสสาวะน้อยกว่าปกติ (< 20 ml/hr) < 400 ml/day ถ้า < 100 ml/day
-> Anuriaķ
cause: ไตวาย,ดื่มน้ำน้อยมาก
Voiding dysfunction
Nocturia:อาการที่ตื่นในตอนกลางคืนเพื่อปัสสาวะมากกว่า 1 ครั้ง
cause: พฤติกรรมการใช้ชีวิต,อายุ,การใช้ยา
Dysuria:ปัสสาวะลำบาก ปวดขณะถ่ายปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย
cause: การอักเสบของกระเพาะปัสสาวะ,การอักเสบของท่อปัสสาวะ
Retention of urine: การที่มีปัสสาวะคั่งอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ
cause: การบวมบริเวณท่อปัสสาวะ,ต่อมลูกหมากโต,กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
Urinary incontinence: สภาวะกลั้นไม่อยู่ ที่มีปัสสาวะออกมาจากท่อปัสสาวะโดยไม่สามารถควบคุมได้มักพบได้บ่อยในผู้หญิงวัยผู้ใหญ่
การแบ่งประเภทของภาวะปัสสาวะเล็ด
1.ปัสสาวะเล็ดขณะออกแรง (stress incontinence): ภาวะที่มีปัสสาวะเล็ดออกมาขณะที่มีการเพิ่มของความดันในช่องท้อง เช่น การจาม,ไอ
2.ปัสสาวะเล็ดทันทีเมื่อปวดปัสสาวะ (urge incontinence): เป็นภาวะที่ผู้สูงอายุเกิดอาการปวดปัสสาวะอย่างทันทีทันใด
3.ปัสสาวะเล็ดราด (overflow incontinence): เกิดจากกล้ามเนื้อเรียบของกระเพาะปัสสาวะสูญเสียความสามารถในการบีบตัว
4.ปัสสาวะเล็ดที่เกิดจากภาวะหรือโรคทางกายที่ไม่ใช่ความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง (functional incontinence)
Other of disease in KUB
•Kidney Stones
•Urinary tract infections
•Horseshoe kidney
•Renal cell carcinoma
•Urinary bladder carcinoma
•Rhabdomyolysis