Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินจากแฟ้มสะสมผลงาน 21f0775a85c34782bd330916c30c5cfc …
การประเมินจากแฟ้มสะสมผลงาน
ลักษณะของแฟ้มสะสมผลงาน
1.เป็นแหล่งข้อมูลที่มีความหลากหลาย
2.เป็นสภาพจริงของผู้เรียน
3.เป็นรูปแบบของการประเมินที่ยืดหยุด
4.มีจุดประสงค์ชัดเจน
5.มีลักษณะเฉพาะ
ประโยชน์ของการใช้แฟ้มสะสมผลงาน
3.ช่วยกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ขึ้นในตัวผู้เรียน
4.เป็นเวทีที่ให้ผู้เรียนได้สื่อความคิดของตนเองให้ผู้อื่่นได้รับทราบ
5.ช่วยให้ครูผู้สอนมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ดีขึ้น
2.ช่วยให้ครูผู้สอนมองเห็นสภาพแวดล้อมการทำงานของผู้เรียน
1.เพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารระหว่างครูผู้สอน
องค์ประกอบในแฟ้มสะสมผลงาน
1.ส่วนนำ ประกอบด้วย ปก ประวัติผู้ทำ รายการจุดประสงค์การเรียนรู้แผนการเรียนรู้รายบุคคล สารบัญผลงาน ตัวบ่งชี้
2.ส่วนบรรจุหลักฐานผลงาน เป็นผลงานที่สร้างขึ้นจากกิจกรรมการเรียนการสอน
3.เกณฑ์การตัดสินแฟ้มสะสมผลงาน
แนวทางในการประเมินจากแฟ้มสะสมผลงาาน
3.กำหนดวิธีการประเมินงานเพื่อพัฒนาชิ้นงาน
4.ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนางาน
2.กำหนดวิธีการเก็บรวบรวมผลงาน
5.จัดให้มีการนำเสนอผลงานที่สะสมไว้โดยวิธีการที่เหมาะสม
1.กำหนดโครงสร้างของแฟ้มสะสมผลงานจากวัตถุประสงค์ของแฟ้มสะสมผลงาน
มาตรการวัดในแฟ้มสะสมผลงาน
2.มาตรประมาณค่าเชิงตัวเลข เป็นการใช้ตัวเลขใน
การกำหนดให้กับคะแนน
3.มาตรประเมินค่าเชิงคุณภาพ เป็นมาตรที่ใช้กลุ่มคำแสดงลักษณะการปฎิบัติของผู้เรียน
แบบตรวจสอบรายการเป็นรายการรายชื่อของคุณลักษณะทักษะหรือพฤติกรรมที่ต้องการว่า มี หรือ ไม่มี
การสะท้อนภาพตนเอง
วิธีการสะท้อนภาพตนเอง
วิธีที่ 1 ให้ผู้เรียนได้เรียนแสดงความคิดเห็นสะท้อนภาพของตนเอง
วิธีที่ 2 ให้ผู้เรียนได้ประเมินผลงานของตนเองตามกฏเกณฑ์การให้คะแนนแบบรอบด้าน
ความหมายการสะท้อนภาพตนเอง
เป็นการกำหนดให้ผู้เรียนสะท้อนความรู้สึกในขณะการวางแผน ลงมือปฏิบัติ หรือประเมินคุณภาพของผลงาน
ข้อดีและข้อจำกัดของแฟ้มสะสมผลงาน
ข้อดีของแฟ้มสะสมผลงาน
1.นำไปใช้กับผุ้เรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.ทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการคัดเลือก
3.ทำให้ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจ
ข้อจำกัดของแฟ้มสะสมผลงาน
1.ผู้เรียนใช้เวลามากในการเก็บรวบรวมหลักฐานที่เก็บในแฟ้มสะสมผลงาน
2.สถานที่เก็บแฟ้มสะสมผลงานไม่เพียงพอ
แนวคิดการจัดทำแฟ้มสะสมผลงาน
7.ประเมินผลงาน
8.แลกเปลี่ยนประสบการณ์
6.ตรวจสอบความสามารถในตนเอง
9.ปรับเปลี่ยนผลงานให้เป็นปัจุบัน
5.แสดงความคิดเห็นต่อผลงาน
10.จัดนิทรรศการร่วมชื่นชมผลงาน
4.สร้างสรรค์ผลงานให้เป็นลักษณะเฉพาะ
3.ค้ดเลือกผลงานตามเกณฑ์
2.เก็บรวบรวมและจัดระบบผลงาน
1.กำหนดวัตถุประสงค์
ความหมายของแฟ้มสะสมผลงาน
เป็นการสะสมผลงานอย่างมีจุดมุ่งหมายเพื่อแสดงผลงานความก้าวหน้าสัมฤิทธิผลของผู้เรียน
การประเมินจากแฟ้มสะสมผลงาน
1.แบบไม่กำหนดระดับผลเมื่อครูผู้สอนต้องการพิจารณาพัฒนาการ
2.แบบกำหนดระดับผล
2.3 การให้ระดับผลของชิ้น งานแต่ละชิ้น
2.4 การให้ระดับผลเดียว
2.5 การให้น้ำหนักความสำคัญในแต่ละหัวข้อ
2.2 การเลือกชิ้นงานที่ดีที่สุด
2.1การให้ระดับผลของหลักฐานหรือชิ้นงาน
หลักฐานในการประเมินจากแฟ้มสะสมผลงาน
หลักการด้านการเรียนการสอน
3.หลักการความเสมอภาค ยุติธรรม
1.หลักการด้านเนื้อหาสาระของว
กระบวนการสร้างเกณฑ์ให้คะแนนแฟ้มสะสมผลงาน
7.ทดลองใช้เกณฑ์การให้คะแนนกับงานดังกล่าว
8.แก้ปรับปรุง
6.เลือกตัวอย่างงานของผู้เรียนอีกหนึ่งชุด
9.ทดลองใช้ซ้ำ
5.เลือกคุณลักษณะที่ใช้ได้แล้วเขียนคำบรรยาย
4.นำคุณลักษณะที่สำคัญของแม่แบบมาอภิปราย
3.เก็บรวบรวมตัวอย่างงานของผู้เรียน
2.เก็บรวบรวมเกณฑ์การให้คะแนน
1.การศึกษาวิธีการนิยามคุณภาพการทำงาน
จุดประสงการใช้แฟ้มสะสมผลงาน
2.เพื่อให้บรรลุจุดหมายของหลักสูตรหรือจุดประสงค์
3.เพื่อประเมินความรับผิดชอบของครูผู้สอน
4.เพื่อตอบสนองต่อจุดประสงค์การเรียนรู้ที่หลากหลาย
1.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประเมินตนเองได้ด้วยการสะท้อนความคิดในงานของตนเอง
ประเภทของแฟ้มสะสมผลงาน
1.แฟ้มสะสมผลงานยอดเยี่ยม(Final Portfolio)
2.แฟ้มสะสมผลงานแสดงพัฒนาการในการเรียนรู้