Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Cesarean Section, จัดทำโดย - Coggle Diagram
Cesarean Section
ขอบ่งชีในการผ่าคลอด
มีภาวะผิดสัดส่วนระหว่างศีรษะทารกและอุ้งเชิงกราน(Cephalopelvic Disproportion: CPD) ทำให้เด็กไม่สามารถคลอดผ่านเชิงกรานแม่ออกมาได้
มีความผิดปกติขงรก เช่น รกเกาะต่ำขวางทางออกของทารก (Placenta Previa) หรือรกลอกตัวก่อนกำหนด (Placenta Abruption) ทำให้มีการตกเลือดก่อนกำหนด
มีภาวะแทรกซ้อนที่ต้องทำให้คลอดโดยเร็ว เช่นสายสะดือย้อย (Umbilical Cord Prolapsed)
ทารกอยู่ในภาวะวิกฤติ เช่น เสียงหัวใจลูกเต้นช้า (Fetal Distress) , ภาวะความดันโลหิตสูง ครรภ์เป็นพิษอย่างรุนแรง หรือมีการแตกของมดลูก (Uterine Rupture)
มีการคลอดที่เนิ่นนาน (Prolong of Labor) หรือประสบความล้มเหลวจากการชักนำคลอด (Failure Induction)
ทารกอยู่ในทาผิดปกติ เช่น ท่าขวาง (Transverse Lie), ท่าก้น (Breech Presentation)
รายที่เคยมีการผ่าตัดคลอดบุตรหรือผ่าตัดมดลูกร
มารดาเป็นเริมที่อวัยวะเพศในช่วงเจ็บครรภ์คลอด
ชนิดของการผ่าตัดคลอด
1.low transverse cesarean section เป็นการผ่าตัดแนวขวางที่ส่วนล่างของมดลูก
low vertical cesarean section เป็นการผ่าตัดแนวตั้งที่ส่วนล่างของมดลูก
Classical incision เป็นการผ่าตัดในแนวตั้ง ที่บริเวณ
ส่วนบนของมดลูก ใกล้ๆกับยอดมดลูก
Inverted T- shaped incision ผ่าตัดบริเวณส่วนล่างของมดลูกในแนวขวาง แล้วทำคลอดทารกออกยาก จึงต้องตัดเพิ่มเป็นรูปตัวที่กลับหัว
Cesarean hyterectomy หรือ Porro cesarean section เป็นการผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้องตามธรรมดา ร่วมกับผ่าตัดเอามดลูกออกไปในครั้งเดียวกัน
Extraperitoneal cesarean section เป็นการผ่าตัดที่ผนังมดลูกโดยไม่ต้องผ่านเข้าภายในช่องท้อง จะเลาะผ่าน Retzius space เข้าใต้กระเพาะปัสสาวะ เข้าหามดลูกส่วนล่าง
การพยาบาล
ก่อน
เตรียมด้านจิตใจ, NPO 6-8 hr, Shape&สวน, สวนคาสายปัสสาวะ, G/M Hct UA, ให้สารน้ำ, FHS VIS, เอกสารยินยอม, ถอดเครื่องประดับ ฟันปลอม ล้างสีเล็บ
ขณะทำ
เตรียมเครื่องมือผ่าตัด เครื่องมือช่วยเหลือทารก, ทำความสะอาดหน้าท้อง ปูผ้า, จัดท่า trendelenberg, ช่วยเหลือแพทย์, บันทึกคลอด ประเมินร่างกายทารก, ประเมินเลือดที่เสียไป ตรวจนับเครื่องมือ
หลัง
จัดท่านอนหงายราบไม่หนุนหมอน ตะแคงศีรษะจนกว่าจะรู้สึกดี, ประเมินแผลผ่าตัดทางหน้าท้อง, บรรเทาอาการปวด, V/S I/O, ให้สารน้ำ, ช่วยเหลือทำกิจกรรม, กระตุ้น Ambulation
ประเภทของการผ่าตัดคลอด
Emergency cesarean section การผ่าตัดคลอดฉุกเฉินทำในกรณีที่ไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้
Elective cesarean section คือ การผ่าตัดคลอดที่มีการวางแผนไว้ตั้งแต่ใกล้กำหนดคลอด 1-2 สัปดาห์ หรือเริ่มเข้าสู่ระยะคลอด
ข้อดีและข้อเสียของการผ่าตัดคลอดบุตร
ข้อดี
ลดอัตราการบาดเจ็บต่อกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน ซึ่งมีผลต่อการกลั้นปัสสาวะในช่วง 1 ปีแรกหลังคลอด
โอกาสตกเลือดหลังคลอดน้อยกว่าการคลอดทางช่องคลอด
ข้อเสีย
มารดามีความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการให้ยาระงับความรู้สึก
มารดามีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด เช่น บาดเจ็บต่ออวัยวะข้างเคียง แผลผ่าตัดติดเชื้อ
เกิดภาวะลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำ
เพิ่มอัตราตายและภาวะทุพพลภาพของมารดามากกว่าการคลอดทางช่องคลอดประมาณ 3 เท่า
เจ็บแผลมากกว่า การฟื้นตัวช้า ทำให้การเริ่มต้นเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ช้าออกไป
เพิ่มภาวะแทรกซ้อนในครรภ์ถัดไป เช่น มดลูกแตก รกติดแน่น รกเกาะต่่ำ ภาวะตกเลือดหลังคลอด
ซึ่งอาจจำเป็นต้องตัดมดลูก เกิดการบาดเจ็บต่อลำไส้และกระเพาะปัสสาวะ
มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนระยะยาว เช่น เกิดพังผืดในช่องท้องทำให้ปวดท้องเรื้อรังหรือลำไส้อุดตัน
ทารกมีโอกาสเกิดปัญหาการหายใจช่วงหลังคลอดเพิ่มขึ้น เช่น ภาวะหายใจเร็วชั่วคราว กลุ่มอาการหายใจ
ลำบาก ภาวะความดันเลือดในปอดสูง
เพิ่มค่าใช้จ่าย
ภาวะแทรกซ้อน
ขณะทำ
การฉีกขาดของแผลผ่าตัดบนมดลูก
ภาวะแทรกซ้อนจากยาสลบ เช่น กดการหายใจ ความดันโลหิตต่ำ
การบาดเจ็บต่อทารก
บาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะและลำไส้
ฉีกขาดของแผลผ่าตัดบนตัวมดลูกจนถึงปากมดลูก
หลังทำ
ภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญี ได้แก่ ท้องอืด
เกิดการอักเสบเยื่อบุโพรงดลูก
เกิดการอักเสบของแผลผ่าตัด
มีเลือดออกในช่องท้องภายหลังการผ่าตัด
ภาวะ PPH ร่วมกับภาวะ Shock
การผ่าตัดนำเอาทารกออกจากโพรงมดลูก โดยผ่านทางรอยผ่าที่ผนังหน้าท้องและรอยผ่าที่ผนังมดลูก
จัดทำโดย
นางสาวภัทรวรินทร์ เรือนคำ รหัส 5901210859