Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:red_flag: Urinary bladder system - Coggle Diagram
:red_flag: Urinary bladder system
H.ที่เกี่ยวข้อง
Aldosterone
เพิ่มการดูดกลับของ Na+ และเพิ่มการขับ K
antidiuretic hormone/Vasopressin(ADH)
กระตุ้นการดูดซึมน้ ากลับสู่กระแสเลือดบริเวณท่อรวม
Function
กรองและขับของเสียออกจากร่างกายทางปัสสาวะ
ควบคุมสมดุลของน้ าและ Electrolytes
ควบคุมสมดุลกรดด่างของร่างกาย
ควบคุมความดันโลหิตในร่างกาย
สังเคราะห์ฮอร์โมนที่ส าคัญในร่างกาย
renin
erytropoitin,
ช่วยก าจัดสารพิษในร่างกาย
ผลิต active vitamin D เพื่อช่วยในการดูดซึม Ca2+ ที่ผนังล าไส้เล็ก
Renal function test
ไตสามารถทำหน้าที่กรองของเสียออกจาก
เลือดขับทิ้งปัสสาวะได้เป็นปกติหรือไม่
การตรวจ BUN, Creatinine และ eGFR
Blood urea nitrogen//BUN
BUN ในเลือดที่เพิ่มขึ้น สามารถแสดงภาวการณ์ทeงานของไตที่ลดลง
เพิ่มเมตาบอลิซึมของไนโตรเจนจากอาหาร
Serum creatinine
นสารที่กล้ามเนื้อสร้างขึ้นและ
ขับออกทางเดินปัสสาวะในอัตราที่สม่ำเสมอ
ช 20-25 mg/kg ญ 18-20 mg/kg
Cr ในเลือด ปกติ 0.6–1.5 mg/dl ในผู้ชาย และ 0.6-1.1 mg/dl ในผู้หญิง
ระดับ Cr ในเลือดจะไม่เปลี่ยนแปลงจากอาหารหรือปัจจัยที่มีผลต่อการไหลเวียนเลือด
Estimated glomerular filtration rate : eGFR
ารตรวจหาอัตราการกรองของไต หรืออัตราการกรองของเสียของไต
การตรวจหา
ค่าอัตราการไหลของเลือดผ่านตัวกรองไตในหนึ่งนาที
ค่า Creatinine ยิ่ง
สูง จะยิ่งทำให้ GFR มีค่าต่ำ
Pathology of Kidney
Hypernatremia
ร่างกายมีปริมาณโซเดียมในเลือดเกินค่ามาตรฐาน
สาเหตุ
รับประทาน Na2+
เกิน
ขาดน้ำ
สูญเสียน้ำ
Effect
เลือดที่ไหลเวียนผ่านไตมีความเข้มข้นสูง
ไตจึงสร้างปัสสาวะมากขึ้น
ความเข้มข้นของเลือดสูงขึ้น จึงมักแสดงอาการขาดน้ า
Hyponatremia
ร่างกายมีปริมาณโซเดียมในเลือดต่ำกว่าค่ามาตรฐาน
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติที่ไตขับน้ าออกจากร่างกายลดลง
มีการเพิ่มการสร้างและหลั่ง ADH
ลดการดูดซึมโซเดียมและคลอไรด์ลดดลง
ภาวะไตวาย ภาวะโซเดียมในเลือดต่ าท าให้เกินอาการน้ าเกิน
Hyperkalemia
มีปริมาณโพแทสเซียมในเลือดสูงเกินเกณฑ์มาตรฐาน
สาเหตุ
มีการขับ K+ ทางปัสสาวะลดลง ปริมาณปัสสาวะลดลง ทำให้ระดับ K+ ในเลือดสูงขึ้นด้วย
ความบกพร่องของระบบ RAAS
ความผิดปกติของหลอดเลือดฝอยในไตรวมบริเวณผิวนอกของไต
ภาวะไตวาย
Hypokalemia
ภาวะที่มีปริมาณโพแทสเซียมในเลือดต่ำเกินเกณฑ์มาตรฐาน
สาเหตุ
การเพิ่มการทำงานของระบบ RAAS
ปริมาณ HCO3 ในปัสสาวะเพิ่มขึ้น จึงมีผลให้ไตขับ K+ ออกจากร่างการเพิ่มขึ้น
ภาวะ Mg 2+ ในเลือดต่ำ จึงปิดช่องทางการดูดกลับ K+
ภาวะ Ca2+ในเลือดสูงทำให้เกิดการทำลายเซลล์เยื่อบุหลอดฝอยไต
Uremia
อาการเป็นพิษในเลือดที่เกิดจากสาร
Urea/Creatinine ตกค้างอยู่ในเลือด
ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการผิดปกติทางสมอง ร่างกาย อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
Kidney failure
ภาวะที่ไตเสียหน้าที่ในการขับของเสียที่เกิด
จากการเผาผลาญอาหารออdจากกระแสเลือด
ไตล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute renal failure)
ภาวะไตสูญเสียหน้าที่ทันทีทันใด
ทำให้มีการคั่งของของเสียในร่างกาย
Sign & symtoms
บวมที่ขาและเท้า
ปัสสาวะน้อยลง หรือไม่ปัสสาวะเลย
คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย
ปวดหลังบริเวณชายโครง
หายใจถี่
ถ้าอาการรุนแรง → ชัก
รักษาตามสาเหตุ ร่วมกับ การฟอกไต
ภาวะแทรกซ้อน
เจ็บหน้าอก
ภาวะน้ำท่วมปอด
•ไตถูกท้าลายอย่างถาวร
กล้ามเนื ออ่อนแรง
ไตล้มเหลวเรื้อรัง (Chronic renal failure)
Sign & symtoms
อาการของไตวายเรื้อรังจะค่อย ๆ แสดงอาการออกมาเป็นระยะ
5 ระยะ
ระยะ 1จะไม่มีอาการแสดงให้เห็น อาจพบอาการไตอักเสบ หรือพบภาวะโปรตีนรั่วออกมาปะปนในเลือดหรือในปัสสาวะ
ระยะที่ 2 ป็นระยะที่การทำงานของไตเริ่มลดลง
ค่าการทำงานของไตจะเหลือเพียง 60-89ml/min
ระยะที่ 3 ไม่มีอาการใด ๆ แสดงให้เห็น
ค่าการทำงานของไต 30-59 ml/min
ระยะที่ 4 แสดงอาการ
การทำงานของไตจะลดลงเหลือเพียง
15-29 ml/min
ผู้ป่วยอาจจะมีอาการมึนงง เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ผิวแห้งและคัน
กล้ามเนื้อเป็น ตะคริวบ่อยขึ้น มีอาการบวมตามข้อ ขา และเท้า ใต้ตาคล้ำ ปวดปัสสาวะบ่อย
ระยะที่5 เป็นระยะสุดท้ายของภาวะไตวาย
อาการที่คล้ายกับระยะที่ 4
ภาวะ โลหิตจางที่รุนแรงขึ้น และอาจมีการตรวจพบการเสียสมดุลของแคลเซียม ฟอสเฟต
หากไม่ได้รับการ
รักษาอย่างทันท่วงทีอาจเสียชีวิตได
Rx
ไตวายในระยะที่ 1-3 ไม่จำเป็นต้องทำการรักษา
แต่ต้องพบแพทย์เป็นระยะ
ไตวายในระยะที่ 4-5
ต้องใช้การรักษาหลายๆ วิธีร่วมกัน เพื่อ
ประคับประคองอาการให้อยู่ในระดับคงที่ เพื่อรอการผ่าตัดปลูกถ่ายไต อีกทั้งต้องมีการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อน
โรคโลหิตจาง
โรคกระดูกพรุน
โรคหัวใจและหลอดเลือด
Pathology of Kidney
Hematuria
ปัสสาวะเป็นเลือด คือ การมีเม็ดเลือดแดงปนออกมากับปัสสาวะ > 8000 cell/ml
สาเหตุ
มีการบาดเจ็บที่ระบบทางเดินปัสสาวะ
มะเร็งในระบบทางเดินปัสสาวะ
การตายของ basement membrane ของ glomerulus
Proteinuria
ภาวะที่มีโปรตีนในปัสสาวะมากกว่า 150 มิลลิกรัมต่อวัน
Persistent proteinuria: การพบโปรตีนในปัสสาวะทุกครั้งที่มีการตรวจปัสสาวะ
Transient proteinuria: การพบโปรตีนในปัสสาวะชั่วคราว
สาเหตุ
ระดับโปรตีนในพลาสมามาก
•โปรตีนผ่านโกลเมอรูลัสเพิ่มขึ้น
ลดการดูดกลับที่หลอดเลือดฝอยไต
Glucosuria
การมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินระดับที่ไตสามารถกรองได้ > 160 mg/dl ในเลือดดำ
Ketonuria
การตรวจพบคีโตนในปัสสาวะ > 20 mg/dl
เนื่องจากการเผาผลาญพลังงานจาก
คาร์โบไฮเดรตในร่างกายไม่สมบูรณ์ หรือไม่เพียงพอ
พบใน ผู้ป่วยเบาหวานหรือผู้ที่อดอาหาร (Stravation)
Polyuria
ภาวะที่มีการขับถ่ายปัสสาวะมากกว่าวันละ 1,500 ml โดยไม่ได้เกิดจากการดื่มน้ำมาก
สาเหตุ
ปัสสาวะมากจากการเพิ่มความเข้มข้นของปัสสาวะ เช่น น้ าตาล ยูเรีย
ปัสสาวะมากจากการเพิ่มปริมาณน้ าในร่างกาย
Oliguria
ภาวะปัสสาวะน้อยกว่าปกติ (< 20 ml/hr) < 400 ml/day ถ้า < 100 ml/day
สาเหตุ
ดื่มน้ำน้อยมาก
ไตวาย
Urinary incontinence
สภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู
แบ่งเป็น 4 ประเภท
ปัสสาวะเล็ดทันทีเมื่อปวดปัสสาวะ (urgency incontinence)
ปัสสาวะเล็ดตลอดเวลาเนื่องจากมีปัสสาวะค้างในกระเพาะปัสสาวะ (overflow incontinece)
ปัสสาวะเล็ดขณะออกแรง (stress incontinence)
ปัสสาวะเล็ดจากภาวะหรือโรคทางกาย ที่ ไม่ใช่ความผิดปกติของทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง (functional incontinence)
Sign & symptoms
ไอ จาม ปัสสาวะเล็ด
ปัสสาวะไหลรินออกมาโดยไม่รู้ตัว
ปวดปัสสาวะรุนแรงแล้วราดออกมา
ปัสสาวะเล็ดราดหลังการถ่ายปัสสาวะสุด
Rx
การรักษาด้วยยา
การผ่าตัด
pelvic floor exercise หรือ kegel exercise
lifestyle intervention
Kidney Stones
แบ่งเป็น 2 ชนิด
โรคนิ่วทางเดินปัสสาวะส่วนบน
บบริเวณ กลีบกรวยไต (renal calyces) กรวยไต (renal
pelvis) และท่อไต (ureter)
โรคนิ่วทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง
บริเวณ กระเพาะปัสสาวะ (bladder) และบริเวณท่อ
ปัสสาวะ (urethra)
Sign & symptom
ปัสสาวะแล้วเจ็บ
ปัสสาวะเป็นเลือด หรืออาจมีสีแดง ชมพู และน้ าตาล
มีอาการปวดบีบเป็นระยะ และปวดรุนแรงเป็นช่วง ๆ ที่บริเวณดังกล่าว
ปวดบริเวณหลังหรือช่องท้องด้านล่างข้างใดข้างหนึ่ง อาจปวดร้าวลงไปถึงบริเวณขาหนีบ
ปวดปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะน้อย ปัสสาวะขุ่นหรือมีกลิ่นแรง
คลื่นไส้ อาเจียน
หนาวสั่น เป็นไข้
Rx
5 mm
รผ่าตัดก้อนนิ่วออก
การส่องกล้อง: ใช้กล้อง Ureteroscope
ใช้คลื่นเสียงแตกตัวก้อนนิ่ว
< 5mm
ดื่มน้ำามากๆ ยาขับนิ่ว