Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยใช้ภาษาและวัฒนธรรมเป็นฐาน ตามแนวทางโรงเรียนพ…
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยใช้ภาษาและวัฒนธรรมเป็นฐาน
ตามแนวทางโรงเรียนพหุวัฒนธรรม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3) เน้นการประกอบอาชีพ หรือการศึกษาต่อ
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6) เป็นระดับการศึกษาที่มุ่งเน้น การเพิ่มพูนความรู้และทักษะเฉพาะด้าน
ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6) เน้นจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมนักเรียน
แนวการจัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี
ระบบหมู่
การใช้สัญลักษณ์ร่วมกัน
เรียนรู้จากการกระทำ
การศึกษาธรรมชาติ
คำปฏิญาณและกฎ
ความก้าวหน้าในการเข้าร่วมกิจกรรม
การสนับสนุนโดยผู้ใหญ่
แนวการจัดกิจกรรมชุมนุม
มีครูที่ปรึกษา ชุมนุม ชมรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่กิจกรรม
ให้ผู้เรียนดำเนินกิจกรรมได้หลากหลายทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน
ครูที่ปรึกษากิจกรรมประเมินตามหลักเกณฑ์การประเมินผล
สำรวจความสนใจของผู้เรียนในการเลือกเข้าร่วมชุมนุม ชมรม
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
จัดกิจกรรมลักษณะโครงการ โครงงาน หรือกิจกรรม
จัดกิจกรรมร่วมกับองค์กรอื่น
จัดกิจกรรมในลักษณะบูรณาการใน 8 กลุ่มสาระ
กิจกรรมแนะแนว
3.กำหนดสัดส่วนสาระของกิจกรรมในแต่ละด้าน
4.กำหนดแผนการปฏิบัติกิจกรรมแนะแนว
2.ศึกษาวิสัยทัศน์ของสถานศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลของผู้เรียนที่ได้จากการสำรวจ
5.การจัดทำรายละเอียดของแต่ละกิจกรรม
1.สำรวจสภาพปัญหา ความต้องการ ความสนใจและธรรมชาติของผู้เรียน
6.ปฏิบัติตามแผน วัดและประเมินผล และสรุปรายงาน
การจัดการศึกษาเชิงพหุวัฒนธรรม
รูปแบบการจัดการศึกษาพหุวัฒนธรรม
การสร้างความรู้ใหม่ (The Knowledge Construction Process)
การลดอคติ (Prejudice Reduction)
บูรณาการเนื้อหาวัฒนธรรมของนักเรียน เข้าไปในวิชาต่างๆ (Content Integration)
การปรับโครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรมในโรงเรียน (An Empowering School Culture and Social Structure)
การสอนที่ยึดหลักความยุติธรรม (Equity Pedagogy)
แนวทางการจัดการศึกษาเชิงพหุวัฒนธรรมในโรงเรียน
หลักการที่เกี่ยวข้องกับการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมพหุวัฒนธรรม คือการอยู่ร่วมกันของชุมชนชาวพุทธ คือการให้ทาน พูดจาที่ไพเราะ ทำตนให้เป็นประโยชน์ ชุมชนชาวคริสต์ คือส่งเสริมให้มีการพัฒนาเปิดกว้างให้แต่ละชุมชนเข้าสู่สังคมอย่างเท่าเทียมกัน ชุมชนชาวอิสลามคือการให้ทุกคนในสังคมหันมาเข้าใจในความแตกต่างและสนใจที่จะเรียนรู้ความแตกต่างกับความรู้ที่มีอยู่
การอยู่ร่วมกันของคนในสังคมพหุวัฒนธรรม: กรณีศึกษาชุมชนในเขตบางรัก กรุงเทพมหานคร คือ การอยู่ร่วมกันของคนในที่หลากหลายวัฒนธรรม ได้แก่ ชุมชนชาวพุทธ มุ่งส่งเสริมการศึกษาแก่เยาวชนและประชาชน การสงเคราะห์แก่อุบาสกและอุบาสิกาในชุมชนรอบวัด ในขณะที่ชุมชนชาวคริสต์ เน้นส่งเสริมการเรียนการสอนพิเศษในวันเสาร์ อาทิตย์ ส่งเสริมสุขภาพ
แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมพหุวัฒนธรรม คือกระบวนการให้การศึกษาระดับขั้นพื้นฐานช่วยให้เด็กและเยาวชน ประชาชนเข้าใจ และยอมรับซึ่งความแตกต่างในเรื่องของความเป็นชนกลุ่มน้อย ด้านเชื้อชาติ ภาษา ศาสนา ลัทธิความเชื่อ
นางสาวลัดดาวัลย์ โกวัง รหัสนิสิต60204248 สาขาชีววิทยา