Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่15การปรับตัวของร่างกายในภาวะที่มีพยาธิสภาพระบบต่อมไร้ท่อ - Coggle…
บทที่15การปรับตัวของร่างกายในภาวะที่มีพยาธิสภาพระบบต่อมไร้ท่อ
ต่อมไพเนียล Pineal gland pineal body Epiphysis cerebri
ต่อมเล็กๆ สีน้ำตาลเเดงรูปลูกเเพรอยู่เหนือสมองส่วนกลาง
ต่อมนี้ทำงานในเวลากลางคืน
เมื่อเส้นประสาทตาถูกกระตุ้นมีจะเกิดการยั้บยั้งการทำงานของต่อมนี้
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ควบคุมสมดุลเเคลเซียมเเละฟอตเฟตในกระเเสเลือด
Hyperparathyroidism
กระดูกพรุน กระดูกโก่ง ปวดกระดูก กล้ามเนื้ออ่อนเเรง
Hypoparathyroidism
กล้ามเนื้อกระตุก กล้ามเนื้อหดตัวเกร็ง ชัก
ต่อมไต้สมองPituitary gland Hypophysis
เป็นต่อมรูปไข่สีแดงห้อยอยู่กับInfundibulum
วางอยู่ในhypopphyseal fossa เป็นเเอ่งที่อยู่ด้านบนของกระดูกSphenoid
Pituitary gland
Neurohypophysis
Pars posterior
Infundibulum stem
Adenohypophysis
Pars anterior
Parsintermedia
Pars tuberalis
ต่อมใต้สมองส่วนหลังPosterior pituitary or Neurohypophysis
Oxytocin
กล้ามเนื้อผนังมดหดตัวขณะคลอด
หลั่งน้ำนม หลั่งน้ำอสุจิ
Antidiuretic HornmoneหรือVasopressin
Vasoconstiction
Blood pressure
ลดการหลั่งปัสสาวะ
ถ้าขาดเกิดโรคเบาจืด(diabetes insipidus)
กักเก็บฮอร์โมนที่สร้างมาจากhypothalamus
Melanocyte stimulating hornmone(MSH)
สร้างmelanin pigment ที่ผิวหนังสีเข้มขึ้น ถ้าขาดจะทำให้ผิวซีด
Adenocorticotropic hormone(ACTH)
กระตุ้นAdenal cortex ให้สร้างฮอร์โมน glucocorticoids
Thyroid simulating(TSH)
สร้างฮอร์โมนThyroxin
เพิ่มMetabolismหัวใจเต้นเร็วขึ้น
Luteinizing hormone (LH)
กระตุ้นให้มีการตกใข่เป็นcorpus luteumสร้างฮอร์โมนprogesterone
Follicle-stimulating hornmone(FSH)
มีบทบาทต่ออวัยวะสืบพันธ์ุจะกระตุ้นการสร้างอสุจิ
ในเพศหญิงกระตุ้นการเจริญเติบโตของในรังไข่
Growth Hormone(GH)
ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย
Growth Hormone(GH)เด็ก
Gigantism
Growth Hormone(GH)ผู้ใหญ่
Acromegaly
Dwarfism
Prolactin (PRL)
กระตุ้นต่อมน้ำนมให้สร้างน้ำนม