Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระยะที่ 1 ของการคลอด ต่อ1 By puriku - Coggle Diagram
ระยะที่ 1 ของการคลอด ต่อ1
By puriku
การเฝ้าคลอด
ความก้าวหน้าของการคลอด
Good contact
การหดรดัตัวของมดลูกจะถี่ทุก 2-3นาทีและหดรัดตัวครั้งละ45-60วินาท
Latent q1hr
Active q30 min
การสั้นบางและเปดิขยายของปากมดลูก
การเคลื่อนต่ําของส่วนนํา
1เซนติเมตรต่อชั่วโมงในครรภ์แรก
2เซนตเิมตรต่อชั่วโมงในครรภ์หลัง
PV
Latent phase อาจตรวจทุก 4 ชั่วโมง
Active phase ตรวจทุก 2 ชั่วโมง
การหมุนภายในของศีรษะทารก
ปกติกระดกูท้ายทอยจะค่อยๆหมุนขึ้นมาทางด้าน หน้า (Anterior) ของเชิงกรานและรอยต่อแสกกลางจะค่อย ๆ หมนุ อยู่ในแนวหน้า-หลัง (Anterior-posterior) เช่น จากท่า LOAมาอยู่ในเท่าOA
ตําแหน่งที่ฟังอัตราการเต้นของหัวใจทารก
ส่วนนําเคลื่อน ต่ําลงมาถึงช่องออกเชิงกราน ตําแหน่งที่ฟังทารกจะอยู่ที่บรเิวณรอยต่อกระดกูหัวหน่าว(Symphysispubsis)ซึ่ง แสดงว่าใกล้คลอด
จํานวนและลักษณะของมูกที่ปากมดลูก
การแตกของถุงน้ําคร่ําในรายทไี่ มไ่ ด้เจาะถุงน้ํา
อาการแสดงของผู้คลอด กระสบักระส่ายมากขึ้นควบคุมตนเองไม่ได
พบได้เมอื่ การคลอดดําเนินมาถึงระยะ Transition phase
จิตสังคม
Activephase
เครียดเพมิ่มากขึ้นมดลูกมีการหดรัดตัวแรงขึ้นและถี่ขึ้นความ เจ็บปวดเพิ่มมากขึ้นมีอาการเหนด็เหนื่อยและอ่อนเพลยี
+พฤติกรรมที่เหมาะสม พึ่งพา ผู้อื่นป่นหรือเรียกร้องขอความช่วยเหลือมากขึ้น
ระยะ Transitional phase และระยะที่ 2 ของการคลอด
+วิตกกังวลสูง มีความเจ็บปวด และ มีความตึงเครียดมากที่สดุ มีความรู้สึกทุรนทุรายและเหนื่อยอ่อน
+อาจแสดงพฤติกรรมก้าวรา้วไมย่อมให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาล
Latentphas
+มีความเครยีดน้อยความแรงและความถี่ของ การหดรัดตัวยังไม่มาก ความวติกกังวลยังไม่น้อย
+การรบัรู้การเรียนรู้และการแก้ปัญหามมีาก
พฤติกรรมการเผชิญภาวะเครยีดทเี่หมาะสม คําพูดโดยการซักถามพูดคุย! ทํากิจกรรมต่างๆ ด้วยตนเอง
การดูแลและส่งเสริม
เวลาย้ายผู้คลอดเข้าห้องคลอด-
ครรภ์แรก เมื่อปากมดลูกเปิดหมด และศีรษะทารกเคลื่อนต่ําลงมาอยู่บนพื้นเชิงกราน เห็นฝเี ย็บตุงปากช่องคลอดมีการเปดิ อ้า ออกจนมองเห็นผมทารกเมื่อมดลกูหดรัดตัว
ครรภห์ลังเมื่อปากมดลูกเปิดประมาร8เซนติเมตร
มีประวตั ิการคลอดเร็วมาก ปากมดลูกเปิดประมาณ 5 – 6 เซนติเมตรหรือเมื่อมีการหดรัด ตัวของมดลูกรุนแรงและถมี่าก
จิตสังคม
ไว้วางใจและความมั่นคงปลอดภยั (Developing trust and security)
ให้ข้อมูลตามความต้องการ (Meeting the informational needs)
+Latent สรีรวิทยาในระยะคลอดระยะเวลาของการคลอด ความรสู้ึก สอนวิธีบรรเทาความเจ็บปวด
+Active นอนพักบนเตียงการงดน้ําและอาหารทางปากการเบง่ที่ถูกวิธีการกระตุ้นให้ใช้เทคนิคการหายใจและการผ่อนคลาย
+Transitionphaseและระยะที่สอง ต้องการคนมาอยู่เป็นเพื่อนมากทสี่ ดุ ระยะนี้ไม่ควรให้ข้อมลู ใหม่ ย้ําถงึ สิ่งที่ได้แนะนําไปแล้วโดยใช้คําพดู สั้นๆได้ใจความ
สนับสนุนช่วยเหลือทางด้านจติใจ(Supportroleofnurse)
เอาใจเขามาใส่ใจเราและความเข้าใจ (Empathy and understanding)
ความเห็นอกเห็นใจ (Sympathy) คือ การที่พยาบาลให้ความสนใจรับรู้
ความเคารพและความเอื้ออาทร (Respect and caring)
ส่งเสริมใหเ้กิดความสุขสบายและการผ่อยคลาย(Promotingofcomfortandrelaxation)
สรีรวิทยา
สุขสบายทั่วไป
+มเีหงื่อออกมาควรใช้ผ้าชุบนํา้เย็นเชด็หน้าเช็ดตวั
+ปาก คอแห้ง ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น อมน้ํายาบ้วนปากบ่อยๆถ้าริม ฝีปากแห้งมากให้อมก้อนน้ําแข็งเลก็ๆหรือให้อมลูกอม
ห้องรวมควร กั้นม่านระหว่างเตียงเพื่อให้ผู้คลอดรู้สึกถึงความเป็นส่วนตัว (Privacy)
มีการแตกของถุงนํา้ดีของ ถุงน้ําคร่ําและส่วนนํายังไม่เข้าสู่ช่องเชิงกรานไม่ควรใหผ้ ู้คลอดลุกเดนิ ไปมา เพราะจะทําใหส้ ายสะดือพลัดต่ําได
ในระยะที่เจบ็ครรภ์ถี่ขึ้นผู้คลอดบางคนอาจชอบนอนตะแคง
ไม่ควรให้ผู้คลอดนอนหงาย เพราะทําให้ เกิดภาวะSupinehypotensivesyndrome
กระเพาะปัสสาวะ
+กระตุ้นให้ผู้ คลอดได้ถ่ายปสั สาวะทุก 3 - 4 ชั่วโมง
+เต็มทําให้ขัดขวางการหดรดั ตัวของมดลูกและการ เคลื่อนต่ําของส่วนนํา ทําให้การคลอดล่าช้า นอกจากนี้ยังทําให้เกดิ การติดเชื้อได้ง่าย
การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
การคลอดล่าช้า
Latent
เกินกว่า 20 ชั่วโมงในครรภ์แรก
เกินกว่า 14 ชั่วโมงในครรภ์หลัง
Active
ปากมดลูกเปิดเฉลี่ย1.2เซนติเมตร/ชั่วโมงในครรภ์แรกและ1.5เซนติเมตร/ชั่วโมงในครรภห์ลัง
ระยะ Deceleration หยุดชะงัก หยุดการเปิดขยายนานกว่า 3 ชั่วโมงในครรภ์แรก และ 1 ชั่วโมงในครรภ์หลัง
หดรัดตัวของมดลูกรุนแรงผิดปกติ(Hypertonicity)
คือการหดรดัตัวแตล่ะครั้งนานกว่า 75วินาทีและช่วงคลายตัวของ มดลูกไม่คลายตัวอย่างสมบรูณ
เห็นหน้าท้องเป็นลอนสูงและเมื่อสวนปสัสาวะออกแล้วยังมลีอน
เหนื่อยล้า/เครยีด (Maternal exhaustion/Distress)
ระยะแรกพบว่า ชีพจรมากกว่า 100 ครั้ง/นาที อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น มีการอ่อนเพลีย อาจจะมีอาการอาเจียน และตรวจพบภาวะ Ketonuria
ระยะหลงัจะพบว่า มีอาการอึดอดัคล้ายคนจมน้ํา กระสับกระสา่ย ความรสู้ึกผิดปกติ
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะเครียด (Fetal distress)
หัวใจทารกช้ากว่า 110 ครั้ง/นาที หรือเร็วกว่า160ครั้ง/นาที
จังหวะไมส่ม่ําเสมอพบขี้เทาปนในน้ําคร่ําใ -
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ในระยะก่อนคลอด (Antepartum Fetal Assessment) ์ั้งแต่อายุครรภ์32สัปดาห์ขึ้นไป
การดิ้นของทารกในครรภ์ (Fetal Movement)
Counttotenการตรวจหลังอาหาร มากกวา่ 10 ครั้งต่อ 12 ชั่วโมง
ฟังสียงหัวใจทารกในครรภ์เป็นระยะ (Intermittent auscultation, IA
) 120-160ครั้ง/นาท
ฟังอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภท์ุก60นาทีในระยะLatent phase
ทุก 30 นาทีเมื่ออยู่ในระยะ Active phase
ทุก 15 นาทีเมื่ออยู่ระยะที่ 2 ของการคลอด
การตรวจอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ด้วยเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic fetal monitoring)
การตรวจ EFM จากภายนอกมดลูกผ่านทางผิวหนังหน้าท้องมารดา (External monitoring)
EFM จากภายในมดลูกผ่านทาง ปากมดลูก (Internal monitoring ) ซึ่งต้องเจาะถุงน้ําคร่ํา ติด Spiral electrode ที่หนังศีรษะของทารกในครรภ์
Baseline fetal heart rate คือ 120-160 ครั้ง/นาที
Tachycardia หมายถึงการที่อัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภส์ งู กว่า 160 ครั้ง/นาที เป็นระยะเวลามากกว่าหรือเท่ากับ 10นาที
+ทารกในครรภ์ขาดOxygen(Fetalhypoxia)และยังอาจเกดิการติดเชื้อทั้งใน มารดาและทารกในครรภ์
+มารดามีภาวะHyperthyroidismหรือFetalanemia
พบ Decrease variability และพบ Late Deceleration ให้เช็ดตัวลดไข้ (ถ้ามารดามีไข้) และให้Oxygen face mask 8-10 ลิตร/นาท
Bradycardia หมายถึง การที่อัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ต่ํากว่า 120 ครั้ง/นาที
+ทารกในครรภ์ที่ขาด Oxygen (Fetal hypoxia) และยังอาจเกิดจากมารดาได้รับยา
+รายงานแพทย์ทราบ ถ้าFHR >80 ครั้ง/นาที และมี variability ดีดูแลมารดาตามระยะของการคลอดปกติ
ถ้าพบ Decrease variability และพบ Late Deceleration ให้ Oxygen face mask 8-10 ลิตร/นาท
Periodic fetal heart rate หมายถึงการเปลี่ยนแปลงอัตราการเต้นของหัวใจทารกที่สมัพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูกโดยคงอยนู่านกว่า15วินาทีแต่ ไม่เกิน 2 นาที
เร็วขึ้นกว่า Baseline เรียกว่า acceleration
ช้าลง เรียกว่า deceleration
รายงานให้แพทย์ทราบ ให้ Oxygen face mask 8-10ลิตร/นาที พร้อมกับเฝ้าติดตามอัตราการเต้นของหัวใจ ทารกอย่างต่อเนื่อง เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงและจัดให้มารดานอนในท่านอนตะแคงซ้ายเพื่อให้เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงมดลูกได้ดีขึ้น
Prolong deceleration หมายถึงการที่มีอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ต่ํากว่า Baseline 15ครั้ง/นาที หรือ มากกว่า เป็นเวลานานกว่า 2นาที แต่ไม่เกิน 10นาที แสดงถึงภาวะพร่องออกซิเจนของทารกในครรภ์
รายงานให้แพทย์ทราบ ถ้า variability ของ FHR ดีไม่มีการเปลี่ยนแปลงเป็น periodic ดูแลมารดาตาม ระยะของการคลอดปกติ แต้ถ้าพบ Decrease variability และพบ Late Deceleration ให้เช็ดตัวลดไข้ (ถ้ามารดามีไข้) และให้ Oxygen face mask 8-10 ลิตร/นาท
VariabilityคือลักษณะของเสนกราฟแสดงFHR
ค่าปกติ: 6-25 ครั้งตอนาที
Absent : ไมเ่ห็นการเปลี่ยนแปลงของ amplitude
Minimal:มีการเปลยี่นแปลง0ถึง5ครั้งตอนาท
Category I : บ่งบอกว่ามีโอกาสที่ทารกจะมีภาวะเลือดเป็นกรดน้อยมาก
FHR baseline อยู่ระหว่าง 110 ถึง 160 bpm
ไม่พบลักษณะของ variable หรือ Late FHR deceleration
Moderate FHR variability (6 ถึง 25 bpm)
อายุครรภ์สมั พันธ์กับ FHR accerleration
Earlydeceleration:เนื่องจากศีรษะทารกถูกกดทําใหเ้กิดvagallyeffectโดยFHRต่ําประมาณ100–110bpm