Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การนิเทศการพยาบาล NURSING SUPERVISION, นางสาวนภาพร ต้นพนม รหัส 60170023,…
การนิเทศการพยาบาล
NURSING SUPERVISION
ความหมาย
เป็นกระบวนการที่เป็นทางการ(formal process) ของการสนับสนุนทางวิชาชีพและกระบวนการเรียนรู้ที่จะส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานในการพัฒนาความรู้ (knowledge) สมรรถนะ(competence) และ ความรับผิดชอบ(assume responsibility) ในการปฏิบัติงาน
หลักการของการนิเทศการพยาบาล
1.การนิเทศควรสะท้อนถึงการปฏิบัติการพยาบาลของผู้ปฏิบัติงาน โดยที มีองค์ประกอบคือ supervisor, supervisee, patient and โดยที่มีองค์ประกอบคือ supervisor, supervisee, patient and context or environment
การนิเทศควรเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะ
การนิเทศควรอยู่บนพื้นฐานของทักษะที่ จะประยุกต์ใช้ ได้
การนิเทศควรเป็นการช่วยเหลือสนับสนุนผู้รับการนิเทศ
การนิเทศควรให้ความสําคัญต่อผู้ป่วยเป็นอันดับแรก
6.การนิเทศควรกระตุ้นให้มีการปฏิบัติที่ปลอดภัย
บทบาทของผู้นิเทศ
Formative
การให้ความรู้ การจัดอบรมระหว่างการปฏิบัติงานการเป็นที่ปรึกษา(mentorship)
Restorative
การจัดสวัสดิการต่างๆการดูแลด้านความปลอดภัยในการทํางานเป็นต้นเพื่อให้บุคลากร สามารถปฏิบัติงานได้โดยมีความเครียดน้อยลง
Normative
การจัดให้มีมาตรฐานการปฏิบัติงาน การจัดให้มีมาตรฐานการปฏิบัติงาน กฎระเบียบวินัยในการปฏิบัติงานนโยบายการจ้าง
คุณสมบัติพิเศษของผู้นิเทศทางการพยาบาล
1.มีประสบการณ์การเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย
2.มีความเฉลียวฉลาด
3.มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้สู่ผู้อื่น
4.มีความอดทนและมีความเข้าใจผู้อื่น
5.มีความตรงไปตรงมา
6.มีความสามารถในการใช้อํานาจที่มีอยู่โดยปราศจากการ เรียกร้องเกินความจําเป็น
กิจกรรมของการนิเทศทางการพยาบาล
1.การเยี่ยมตรวจทางการพยาบาล(Nursing rounds)
2.การประชุมปรึกษาทางการพยาบาล(Nursing conference)
การสอน(Teaching)
4.การให้คําปรึกษาแนะนํา(Counseling)
5.การแก้ปัญหา(Problemsolving)
6.การสังเกต(Observation)
การร่วมมือในการปฏิบัติงาน(Participation)
ตัวอย่างของการนิเทศที ไม่เหมาะสม
ออกคําสั่งเสียงดังต่อหน้าบุคคลอื่น
แสดงความชอบหรือโปรดปรานผู้ใดผู้หนึ่งออกนอก
มีความรู้ไม่พอเพียงในการนิเทศงาน
4.ให้คําแนะนําที่ไม่สมบูรณ์แบบหรือกว้างเกินไป
ไม่กําหนดวันส่งงานล่วงหน้า
ปล่อยให้ผู้ร่วมงานเป็นแพะรับบาป
ไม่ให้การสนับสนุนหรือต่อสู้เพื่อผู้ร่วมงาน
ชอบจับผิด
"Snoopervision" ชอบวุ่นวายสอดแทรกเรื่องส่วนตัวของ ผู้อื่น
"Oversupervision" เฝ้าดูการทํางานใกล้ชิดเกินไป
ประเภทของการนิเทศ
การนิเทศตนเอง(Self –supervision)
การที่ผู้ปฏิบัติงานแต่ละคนสะท้อนคิด(reflect) เกี่ยวกับการทํางานของคนและหาวิธีการปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้นซึ่งเหมาะกับผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ(expert)
การนิเทศรายบุคคล
(One –to –one supervision)
เป็นการนิเทศทีปฏิบัติกันมากซึ่งผู้นิเทศควรเป็นผู้มีความรู้ลึกซึงและมีมนุษย์สัมพันธ์ทีดีและสามารถสร้างเสริมพลังอํานาจ(empower)
การนิเทศเป็นทีม(Team supervision)
เป็นการนิเทศที่อาจประหยัดเวลาได้แต่ผู้นิเทศต้องมีทักษะของการ ดําเนินการกล่มุ(group dynamics)
การนิเทศเป็นกล่มุ(Group supervision)
ป็นการนิเทศที่อาจพบปัญหาคล้ายคลึงกับการนิเทศเป็นทีม อาจจะมุ่งที่ขบวนการกลุ่มมากเกินไป
เทคนิควิธีการในการนิเทศ
การปฏิบัติงานร่วมกับบุคลากรโดยตรง เช่นช่วยเหลือพยาบาล
การสุ่มตรวจสอบกิจกรรมการพยาบาลเป็นครังคราวเช่นร่วมรับฟัง การรับ-ส่งเวร
การปรับปรุงข้อบกพร่องในการปฏิบัติงาน
ทักษะการนิเทศ
ความสนใจตังใจรับฟัง(Basic attention)
การกระตุ้นเพียงเล็กน้อยและความเงียบ (Minimum encouragement and silence)
การซักถาม(Questioning)
การสะท้อนเนือหา(Reflection of content)
การสะท้อนความรู้สึก(Reflecting feeling)
การสรุป(Summarizing)
การท้าทาย(Challenging)
ขั้นตอนการนิเทศ
การวิเคราะห์สถานการณ์
การระบุปัญหา
การกําหนดเป้าหมาย
การวางแผน
การปฏิบัติตามแผน
การประเมินผล
นางสาวนภาพร ต้นพนม
รหัส 60170023