Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 จรรยาบรรณและความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร - Coggle Diagram
บทที่ 10 จรรยาบรรณและความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร
ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร
คือ จิตสำนึกต่อสังคมขององค์กร คือ การยอมรับพันธกิจว่าจะปรับปรุงความเป็นอยู่ของชุมชนให้ดีขึ้น โดยอาศัยการพินิจพิเคราะห์อย่างอิสระ ในการเลือกแนวทางปฏิบัติในการดำเนินธุรกิจและการใช้ทรัพยากรของบริษัท
ประโยชน์ของความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR)
1. ธุรกิจเพื่อสังคม
คือ การดำเนินความรับผิดชอบต่อสังคมที่อยู่ในกระบวนการการทำงานหลักของกิจการ โดยเป็นความรัผิดชอบต่อสังคมที่อยู่ในกระบวนการทำงานหลักของกิจการ เช่นการดูแลสวัสดิการพนักงาน
2. กิจกรรมเพื่อสังคม
คือ การดำเนินกิจกรรม ของหน่วยงาน ที่ไม่เกี่ยวกับการดำเนินงานขององค์กรโดยตรง เพื่อสร้างให้เกิดประโยชน์แก่สังคมในด้านต่างๆ
3. กิจการเพื่อสังคม
เพื่อให้แตกต่างจากสองจำพวกข้างต้นที่เป็นบทบาทขององค์กรกิจโดยตรง กิจการในจำพวกที่สามนี้ เช่น มูลนิธิ สมาคม การกุศลต่างๆ องค์กรสาธาณประโยชน์
คำจำกัดความของ CSR
Corporate
หมายถึง กิจการที่ดำเนินไปเพื่อแสวงหาผลกำไร
Social
หมายถึง กลุ่มคนที่มีความสัมพันธ์กันหรือมีวิถีร่วมกันทั้งโดยธรรมชาติ หรือโดยเจตนา รวมถึงมีชีวิตอื่นๆและสิ่งแวดล้อมที่อยู่รายรอบประกอบ
Responsibility
หมายถึง การยอมรับทั้งผลที่ไม่ดีและผลที่ดีในกิจการที่ได้ทำลงไปหรือที่อยู่ในความดูแลของกิจการนั้นๆ
ขอบเขตความรับผิดชอบขององค์กรต่อสังคม
สังคม
ในความหมายของความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร จะพิจารณาตั้งแต่ผู้มีส่วนได้เสียในองค์กร ได้แก่ ผู้ถือหุ้น ผู้บริหาร พนักงาน และผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียนอกองค์กร แบ่งออกได้เป็น 2 ระดับ ได้แก่ สังคมใกล้ และสังคมไกล
สังคมใกล้
คือ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับองค์กรโดยตรง ได้แก่ ลูกค้า คู่ค้า ครอบครัวของพนักงาน ชุมชนที่องค์กรตั้งอยู่
สังคมไกล
คือ ผู่ที่เกี่ยวข้องกับองค์กรโดยอ้อม ได้แก่ คู่แข่งขันทางธุรกิจ ประชาชนทั่วไป ระบบนิเวศโดยรวม เป็นต้น
ความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นหรือผู้ลงทุน
การเคราพสิทธิของผู้ถือหุ้น และปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียบกัน
การให้ข้อมูลแก่ผู้ถือหุ้นหรือผู้ลงทุนอย่างเพียงพอต่อการตัดสินใจ
การไม่นำข้อมูลภายในไปเปิดเผยกับบุคคลที่เกี่ยงข้องกับผู้บริหารหรือกรรมการ
การดำเนินงานเต็มความรู้ความสามารถด้วยความซื้อสัตว์ เพื่อให้องค์กรมีผลกำไร
ความรับผิดชอบต่อคู่แข่งขันทางธุรกิจ
การแข่งขันอย่างเป็นธรรม ไม่มุ่งทำลายซึ่งกันและกัน
การให้ความร่วมมือในการแข่งขัน และให้ข้มูลสินค้าและบริการในทางที่เป็นประโยชน์
การดูแลกิจการมิให้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการแข่งนันด้วยวิธีการทุ่มตลาด การกลั่นแกล้งใส่ร้ายป้ายสี
ความรับผิดชอบต่อชุมชนและสภาพแวดล้อม
การให้ความร่วมมือและเกื้อกูลชุมชนที่องค์กรตั้งอยู่
การส่ง้สริมแรงงานท้องถิ่นให้มีโอกาสในตำแหน่งต่างๆ
การสนับสนุนแนวทางการระวังในการดำเนินที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การเปิดเผยข้อมูลการดำเนินงานที่อาจส่งผลกระทบต่อชุมชน
การเรียนรู้วัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อการอยู่ร่วมกัน
ความรับผิดชอบต่อลูกค้าและผู้บริโภค
การมีความรับผิดชอบในผลิตภัณฑ์ต่อผู่บริโภค
การขายสินค้าและบริการในราคาที่ยุติธรรม ดำไรที่เหมาะสม
การให้บริการลูกค้าอย่างตรงไปตรงมา และปฏิบัติลูกค้าด้วยอัธยาศัยไมตรีอันดี
การให้ข้อมูลขององค์กรและตัวผลิตภัณฑ์อย่างเพียงพออละถูกต้อง
การป้องกันดูแลสุขภาพและความปลอดภัยของผู้บรโภคจากการใช้สินค้า
การยุติข้อโต้แย้ง และข้อร้องเรียนของผู้บริโภค
ความรับผิดชอบต้อคู่ค้า
การยึดถือข้อปฏิบัติทางสัญญาที่เป็นธรรม
การดำเนินงานในทางต่อต้านการทุจริต รวมทั้งการกรรโชก
การเคารพต่อสิทธิในทรัพย์สินหรือกรรมสิทธิ์ของคู่แข่ง
การไม่เอารัดเอาเปลี่ยนต่อคู่ค้า
การส่งเสริมให้คู่ค้าดำเนินความรับผิดชอบด้านสังคมร่วมกับองค์กร
ความรับผิดชอบต่อประชาสังคม
การละเว้นการประกอบธุรกิจที่ทำให้สังคมเสื่อมหรือนำความเดือดร้อน
การสร้างความร่วมมือระหว่างกลุ่มหรือเครืออื่นๆ
การตรวจตราดูแลมิให้กิจการเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน
การรับฟังข้อมูลหรือทำประชาพิจารณ์ต่อการกำเนินกิการที่ส่งผลกระทบต่อสังคม
การปฏิบัติตามกฎหมาย จัดทำบัญชี และเสียภาษีอากรอย่งถูกต้อง
ความรับผิดชอบต่อผู้บริหารหรือกรรมการบริษัท
การส่งเสริมให้มีการกำกับดูแลกิจการที่ดี มีระบบการบริหารจัดการและการกำหนดค่าตอบแทนที่โปร่งใส ตรวจสอบได้
การจัดทำปและเปิดเผยข้อมูลรายงานทางการเงินและข้อมูลที่มิใช่ข้อมูลทางการเงิน อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา
ความรับผิดชอบต่อพนักงาน
การจ่ายค่าจ้างและผลตอบแทนที่เป็นธรรม
การจัดสวัสดิการแก่ลูกจ้างตามกฏหมายกำหนด
การดูแลสุขภาพและความปลอดภัยในการทำงาน
การพัฒนาบุคลากรและการฝึกอบรมในสถานที่ปฏิบัติงาน
ระดับของความรับผิดชอบต่อสังคม
ระดับที่ 1 ข้อกำหนดตามกฎหมาย
หมายถึง การที่ธุรกิจมีหน้าที่ต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย เช่น กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายแรงงาน การจ่ายภาษี
ระดับที่ 2 ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
หมายถึง ประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่องค์กรให้แก่ผู้ถือหุ้น
ระดับที่ 3 จรรณยาบรรณทางธุรกิจ
หมายถึง การที่ธุรกิจสามารถสร้างผลกำไรแก่ผู้ถือหุ้นได้ในอัตราที่เหมาะสม และผู้ประกอบธุรกิจได้ใส่ใจ้พื่อให้ประโยชน์ตอบแทนแก่สังคมมากขึ้น
ระดับที่ 4 ความสมัครใจ
หมายถึง การที่ธุรกิจควบคู่กับการปฏิบัติตามแนวทางของ CSR ด้วยความสมัครใจไม่ได้ถูกเรียกร้องจากสังคม
ประโยชน์ของความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR)
1. สร้างรายชื่ออันดีให้กับองค์กร
และมีความนิยมในธุรกิจ การสร้างภาพลักษณ์ที่ดีจะมีผลต่อตำแหน่งทางการค้า
2. ช่วยให้บรรลุเป้าหมายโดยร่วมด้านธุรกิจ
เปิดโอกาสให้สร้างสัมพันธภาพพระยะยาวกับผู้จัดจำหน่ายและซัพพลายเออร์
3. ดึงดูดและรักษาทีมทำงาน
มีแรงบันดาลใจด้วยการเป็นที่รู้จักในเรื่องการช่วยชุมชน
4. ลดตันทุนการผลิต
ด้วยการนำปฏิบัติเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมใหม่มาใช้
5. ลดการละเลยที่จะปฏิบัติตามกฎเกณฑ์
ด้วยการทำงานอย่างใกล้ชิดกับหน่วยงานควบคุมดูแลกฎเกณฑ์ เพื่อให้ปฏิบัติได้ตรงหรือเกินกว่าแนวทางที่กำหนด
6. สนับสนุนวัตถุประสงค์การตลาด
โโยการดึงลูกค้าเข้าร้าน เสริมตำแหน่งตราสินค้าสร้างจุดแตกต่างในตัวสินค้า
7. เสริมสร้างสัมพันธภาพที่แข็งแกร่งของชุมชนกัลองค์กร
8. ยกระดับกิจกรรมและการลงทุน
เพื่องสังคมปัจจุบันขององค์กรด้วยการเพิ่มกิจกรรมใหม่ๆ
กิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม
1. การส่งเสริมการรับรู้และแก้ไขประเด็นปัญหาสังคม
เป็นการจัดกาเงิน วัสดุสิ่งของ หรือทัพยากรอื่นขององค์กร เพื่อขยายการรับรู้ และความห่วงใยต่อประเด็นปัญหาทางสังคมนั้นทตลอดจนสบับสนุนการระดมทุน การมีส่วนร่วม หรทอการเฟ้นหาประเด็นปัญหาทางสังคมนั้นตลอดจนสนับสนุนการระดมทุน การมีส่วนร่วม หรือการเฟ้นหาอาสาสมัคร
2. การตลาดเกี่ยวเนื่องกับประเด็นปัญหาสังคม
เป็นการอุดหนุนหรือการบริจาครายได้ส่วนหนึ่งจากการขายผลิตภัณฑ์เพื่อช่วยเหลือ หรือร่วมแก้ไขประเด็นปัญหาทางสังคมจำเพราะหนึ่งๆ มักมีช่วงเวลาที่จำกัดแน่นอน หือดำเนินการแบบจำเพาะผลิตภัณฑ์ หรือใหเแก่การกุศลที่ระบุไว้เท่านั้น
เช่น Pampers สร้างภูมิคุ้มกันโรคบาดทะยักให้แม่และเด็กแรกเกิด
ลูกค้าที่ซื้อผลิตภัณฑ์ผ้าอ้อมสำเร็จรูป
บริจาคเงินซื้อวัคซี 1 เข็มเมื่อผู้บริโภคซื้อ Pampers 1 แพ็ค
องค์กรการยูนิเซฟ
3. การตลาดเพื่อมุ่งแก้ไขปัญหาสังคม
เป็นการสนับสนุนการพัฒนาหรือทำให้ผลการรณรงค์เพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมนุษย์ทั้ในด้ารสาธารณสุข ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสุขภาวะ เพื่อมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาสังคมจะเน็นที่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และจะเน้นที่การสร้างความตระหนัก เช่น Lowe'Buy แนะนำวิธีใช้น้ำอย่างประหยัดละใช้อุปกรณ์ช่วยประหยัดน้ำ
ลูกค้าปัจจุบัน
ผู้สนใจซื้อสินค้าที่ห้าง Lowe'Buy มีการจัดสัมมนา ให้ความรู้เรื่องการแนุรักษ์และใช้น้ำอย่างประหยัด แจกคู่มืออนุรักษ์และใช้น้ำ เป็นหน่วยงานสาธารณูปโภคของรัฐในพื้นที่
4. การบริจาคเพื่อการกุศล
เป็นการช่วงเหลือไปที่ประเด็นปัญหาทางสังคมโดยตรง ในรูปของการบริจาคหรือวัตถุสิ่งของ เป็นกิจกรรม CSR ที่พบเห็นในแทบทุกองค์กรธุรกิจ และโดยมากมักจะเป็นตามกระแสความต้องการจากภายนอก เช่น PepsiCo สร้างโลกให้สดใสด้วยโครงการเพื่อชุมชน
บริจาคเงินช่วยเหลือโครงงานการเพื่อชุมชน
บุคคล และองค์กรต่างๆ
เอเจซี่ - บริษัทที่ปรึกษาหลายแห่ง
5. อาสาสมัครช่วยเหลือชุมชน เป็นการสนับสนุนหรือจูงใจให้พนักงาน
รวมถึงคู่ค้าร่วมสละเวลาและแรงงานในการทำงานให้แก่ชุมชนที่องค์กรตั้งอยู่ และเพื่อตอบสนองต่อประเด็นปัญหาทางสังคมที่องค์กรให้ความสนใจหรือก่วงใย องค์กรธุรกิจอาจเป็นผู้ดำเนินการเอง เช่น IBM ส่งเสริมการเรียนรู้แก่เด้กด้อยโอกาส
ตัวอย่างงานอาสาสมัตคสอนหนังสือ และจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สนับสนุกสนานแก่เด้กด้อยโอกาสในเมืองบังกาลอร์ ประเทศอินเดีย ตัวอย่างบริษัทมอบให้ มอบรางวัลพนักงานอสฃาสาสมัครดีเด่น
6. การดำเนินธุรกิจที่มีจิตสำนึกผิดชอบต่อสังคม
เป็นการดำเนินกิจกรรมทางธุรกิจอย่างพิเคราะห์ทั้งในเชิงป้องกันด้วยการหลีกเลี่ยง การก่อให้เกิดปัญหาทางสังคม หรือในเชิงร่วมกันแก้ไขด้วยการช่วยเหลือเยียวยาปัญหาทางสังคมนั้นๆ เช่น Microsoft แก้ปัญหาจราจรติดขัด
กลุ่มเป้าหมาย พนักงาน
ตัวอย่างกิจกรรม จัดบริการรถรับส่งพนักงานฟรี
ร่ามมือกับ Commuter challenge
ข้อพึงปฏิบัติในการบริหารงานทางการตลาด
ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ
มุ่งเสนอผลิตภัณฑ์และบริการที่เที่ยงตรง ไม่หลอกลวง รวมถึงเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้จากการใช้ผลิตภัณฑ์
มุ่งเสนอผลิตภัณฑ์และบริการที่มีความปลอดภัยต่อการอุปโภคบริโภค
ให้บริการหลังการจำหน่ายตามสมควร
มุ่งเสนอผลิตภัณฑ์และบรการที่ถูกต้องตามกฎหมาย วัฒนธรรม และศีลธรรมอันดีงาม
พึงแจ้งให้ทราบถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะหรือส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์และบริการ
ไม่ลอกเลียนแบบสินค้าหรือบริการของผู้อื่น โดยวิธีการที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย
ด้านราคา
ไม่รวมกลุ่มกันตั้งราคา หรือสมยอมรู้เห็นในการกำหนดราคาที่เป็นการเอารัดเอเปลี่ยบผู้ซื้อ
กำหนดผลตอบแทนหรือค่าธรรมเนียมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในกระบวนการทางการตลาดอย่างเป็นธรรม
ให้ข้อมูลเกี่ยวข้องกับราคาของผลิตภัณฑ์และบริการอย่างครบถ้วนสมบูรณ์
4.ไม่กระทำการใดๆ เพื่อทำให้ราคาสูงขึ้นโดยไม่มีเหตุผล
ด้านการกระจายสินค้า
ไม่กักตุนสินค้า
ไม่ผูกขาดช่องทางการกระจายสินค้า
ไม่พยายามบีบบังคับผู้ค้าอิสระให้ขายสินค้าเฉพาะของตนเอง
ควรให้บริการต่อผู้ค้าทุกรายเท่าเทียมกันในทุกสภาวะตลาด
ด้านการส่งเสริมการขาย
ละเว้นการโฆษณาที่เป็นเท็จ
ละเว้นวิธีการส่งเสริมการขาย
3.ละเว้นกลวิธีการขายที่เป็นการบีบบังคับให้ลูกค้า
ละวเ้นการโฆษณา หรือให้ข่าวสารต่อสื่อมวลชนที่บิดเบือนความจริงหรือผิดวัฒนธรรม