Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเถลิงถวัลยราชสมบัติ - Coggle Diagram
การเถลิงถวัลยราชสมบัติ
สิทธิธรรมในการเป็นผู้ปกครอง
สถาบันพระมหากษัตริย์ของไทยได้รับแนวคิดคติความเชื่อเกี่ยวกับอุดมการณ์การเมืองการปกครองจากศาสนาพราหมณ์-ฮินดูและพระพุทธศาสนา สิทธิกรรมการเป็นกษัตริย์ของไทยมีที่มาเป็น 2 ลักษณะ
สิทธิโดยกำเนิด
เมื่อต้นราชวงค์ขึ้นเป็นกษัตริย์แล้ว ได้มีความพยายามสืบทอดการเป็นกษัตริย์ในราชวงค์ของตน
สกุลยศ
ยศของเจ้านายที่มีมาตั้งแต่กำเนิด แสดงความสัมพันธ์ที่มีกับกษัตริย์
หม่อมเจ้า
พระองค์เจ้า
เจ้าฟ้า
สิทธิกรรมโดยสถานการณ์
ยามเมื่อบ้านเมืองไม่สงบสุข มีข้าศึกรุกราน ผู้ใดอาสาเข้ามาป้องกัน สามารถแก้ไขปัญหานี้ให้ลุล่วงได้ ก็จะได้การยอมรับให้ขึ้นตำแหน่งกษัตริย์
การสืบสันตติวงศ์ของพระมหากษัตริย์ไทย
การสืบทอดราชบัลลังก์
สมัยอยุธยาตอนปลาย มีการกำหนดตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ตำแหน่งนี้ใช้เรียกผู้ที่กษัตริย์สถาปนาขึ้นเป็นรัชทายาท
สมัยรัตนโกสินทร์ ได้นำจาริตการปกครองแบบอยุธยามาปฎิวัติได้มีการสถาปนาตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลสืบมาจนถึงรัชกาลที่5
สมัยพระบรมไตรโลกนาถ ทรงตรากกฎมณเฑียรบาลกำหนดอิสริยยศของพระราชโอรสตามฐานันดรศักดิ์
สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้วางระเบียบสืบสันติวงศ์กำหนดตำแน่งรัชทายาท
กรณีที่ไม่มีพระราชโอรสจะสืบตำแหน่งต่อไปยังพระอนุชา
ในสมัยพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯให้ตรากฏมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบสันติวงค์พุทธศักราช 2467 ขึ้นเพื่อใช้เป็นเกณฑ์พิจารณาลำดับชั้นเจ้านายที่มีสิทธิในการสืบสันติวงค์
ส่วนใหญ่สืบทอดมาจากพระราชบิดาไปสู่พระโอรส
เกณฑ์ในกฎมณเฑียรบาลฉบับนี้ได้ใช้สืบต่อมาจนภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พุทธศักราช 2475 เพียงแต่กำหนดเพิ่มเติมให้ผ่านการเห็นชอบของรัฐสภา ต่อมามอบหมายให้คณะองค์มนตรมีส่วนร่วมในการพิจารณา