Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารความขัดแย้ง Managing Conflict - Coggle Diagram
การบริหารความขัดแย้ง
Managing Conflict
ความขัดแย้ง
แบ่งเป็น 6 ประเภท
1.ความขัดแย้งภายในตัวบุคคล
(Intrapersonal Conflict)
2.ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
(Interpersonal Conflict)
3.ความขัดแย้งภายในกลุ่ม
(Intergroup Conflict)
5.ความขัดแย้งในองค์กร
(Intraoganizational Conflict)
6.ความขัดแย้งระหว่างองค์กร
(Interoganizational Conflict)
4.ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม
(Intergroup Conflict)
ประโยชน์ของความขัดแย้ง
1.ทำให้บุคคลในองค์การเกิด
แรงจูงใจในการทำงานขึ้นมา
2.ทำให้เกิดความคิดริเริ่มใหม่ๆนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในเชิงสร้างสรรค์
3.สมาชิกในองค์การได้แลกเปลี่ยน
ความรู้ ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
4.องค์กรได้มีการปรับปรุง และพัฒนางานให้ดีขึ้น
6.ได้มีการลดความตึงเครียดด้วยการระบายข้อขัด แย้งระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม ซึ่งเก็บกดไว้เป็นเวลานาน หรือทำให้ความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์การดีขึ้น
5.ทำให้เกิดแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆที่เป็น
ประโยชน์กับองค์การและทำให้คุณภาพของ
ชีวิตการทำงานของบุคลากรในองค์การดีขึ้น
รูปแบบพฤติกรรมเมื่อมีความขัดแย้ง มี 5 แบบ
2.การยินยอมให้ผู้อื่น (Accommodating)
1.การหลีกเลี่ยง (Avoiding)
5.การเจรจาต่อรอง หรือการประนีประนอม (Negotiating or Compromising)
4.ความร่วมมือร่วมใจ
(Collaborating)
3.การต่อสู้ หารแข่งขัน (Competing)
สาเหตุของความขัดแย้ง
1.ความไม่ชัดเจนในการกำหนดบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของงาน
2.ลักษณะงานที่ต้องพึ่งพากัน
3.อุปสรรคของการ
ติดต่อสื่อสาร
4.การแข่งขันเพื่อแย่งชิง ทรัพยากรที่มีจำกัด
6.ความแตกต่างของบุคคลในองค์กร
5.การควบคุม พฤติกรรม
วิธีแก้ไขความขัดแย้ง
2.การจัดการความขัดแย้งเกี่ยวกับโครงสร้าง
1.เปลี่ยนแปลงกระบวนการ
(Procedural Changes)
2.เปลี่ยนแปลงโครงสร้างขององค์การ (Organizational Structure Changes)
3.เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมขององค์การ
(Physical Layout Changes)
1.การแก้ไขความขัดแย้งที่เกี่ยวกับบุคคล
1.เปลี่ยนแปลงกระบวนการ
(Procedural Changes)
2.เปลี่ยนแปลงโครงสร้างขององค์การ (Organizational Structure Changes)
3.เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมขององค์การ
(Physical Layout Changes)
ผลเสียหรือโทษของความขัดแย้ง
4.ทำให้เกิดความตึงเครียดมากขึ้น หรือมีผลต่อสุขภาพจิตของคนในองค์การมากขึ้น
6.มีการแบ่งพรรคแบ่งพวกจนเกิดความไม่สงบสุขในองค์กร ขาดการประสานงานกันและไม่มีความร่วมมือร่วมใจในการ
ทำงาน ซึ่งจะมีผลให้ประสิทธิภาพขององค์กรต่ำลง
1.มีการก้าวร้าวกดขี่และทำลายฝ่ายตรงกันข้าม
5.กลุ่มบุคคลหรือบุคคลฉวยโอกาสใช้ความขัดแย้งเป็นข้อเรียกร้องเพื่อสนองความต้องการของตน หรือเรียกร้องให้ผู้อื่นเกิดความสนใจ
2.มุ่งที่จะเอาชนะกันมากกว่าที่จะมองถึงผลกระทบต่อเป้าหมายขององค์กรโดยส่วนรวม
3.ความขัดแย้งจะนำไปสู่ความยุ่งเหยิงและไร้ซึ่งเสถียรภาพขององค์กร
7.ความขัดแย้งที่อยู่ในระดับต่ำมากจนทำให้ สมาชิกขององค์กรเกิดความเฉื่อยชา รู้สึกซ้ำซากจำเจ ไม่มีความคิดสร้างสรรค์ เป็นผลทำให้องค์กรหยุดนิ่งอยู่กับที่ ไม่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในทางสร้างสรรค์