Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารความขัดแย้ง ( Conflict Management), นางสาวนภาพร ต้นพนม รหัส…
การบริหารความขัดแย้ง
( Conflict Management)
ความหมายของความขัดแย้ง
ความไม่เห็นด้วยในเรื่องต่างๆ ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์กร อาจเป็นเรื่องเล็กน้อยจนถึงเรื่องที่มีความสำคัญมากเดือนเป็นปี อาจเกี่ยวข้องกับงานหรือบุคคล แสดงให้เห็นได้หลายลักษณะเช่นการแข่งขันกัน การจ้องจับผิดกันการกล่าวโทษกัน
ประเภทของความขัดแย้ง
ประเภทที่ 1. ความขัดแย้งภายในตัวบุคคล(Intrapersonal Conflict)
เป็นสภาวะที่บุคคลรับรู้ถึงความขัดแย้งในจิตใจตนเองเมื่อเผชิญเป้าหมาย
ประเภทที่ 2 ความขัดแย้งระหว่างบุคคล (Interpersonal
Conflict)ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากบุคลิกภาพค่อนข่างก้าวร้าว ย่อมจะเกิดความขัดแย้งกับผู้อื่นได้ง่าย
ประเภทที่ 3 ความขัดแย้งภายในกลุ่ม (Intragroup Conflict)
ประเภทที่ 4 ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม (Intergroup Conflict)
ประเภทที่ 5 ความขัดแย้งในองค์การ (Intraoganizational Conflict)
ความขัดแย้งขององค์การเป็นการต่อสู้ดิ้นรนที่แสดงออกจนเป็นที่สังเกตเห็นด้วยกันได้ทั้งสองฝ่าย
สาเหตุ
1.ความคิดเห็น
2.แนวทางปฏิบัติ
3.ผลประโยชน์
ผลของความขัดแย้ง
ผลเสียของความขัดแย้ง
บรรยากาศของความจริงใจ และความไววางใจจะหมดสิ้นไป
เกิดการต่อต้านทั้งทางอ้อมและเปิดเผย
เกิดการต่อต้านทั้งทางอ้อมและเปิดเผย
ผู้แพ้มักจะหลบหนีสังคม
ผลดีของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งมักก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
ช่วยให้มีการปรับปรุงทางเลือกในการแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ช่วยให้เกิดการหาข้อพิสูจน์ที่สมเหตุสมผลก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรคสิ่งแปลกใหม่
สมาชิกในองค์การได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
ทำให้เกิดความสามัคคีในกลุ่ม
องค์การได้มีการปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้น
องค์การมีการปรับตัวให้เข้ากับความเปลี่ยนแปลงในสังคมได้อย่างต่อเนื่อง
วิธีแก้ไขความขัดแย้ง
1.ถ้าความกังวลหรือความสนใจในผลลัพธ์ของทั้งตนเองและคู่กรณีต่ำกลยุทธ์ที่มีความเป็นไปได้สูง
คือการหลีกเลี่ยง (Withdrawal หรือ avoid)
ถ้ามีความกังวลหรือสนใจต่อผลลัพธ์ต่อตนเองสูง แต่ไม่สนใจในผลลัพธ์ของคู่กรณีกลยุทธ์ที่ใช้
คือ การบังคับหรือกดดัน (Force)
ถ้าความกังวล หรือความสนใจในผลลัพธ์ต่อตนเองต่ำ แต่กังวลและสนใจผลลัพธ์ต่อคนอื่นสูง
คือ ความปรองดอง (Accommodation) หรือการยินยอม
4.ถ้าความกังวลหรือความสนใจสูงทั้งต่อผู้ผลลัพธ์ของตนเองและคู่กรณี
คือ ความร่วมมือ(Collaborative) การแก้ปัญหาหรือการร่วมมือกัน (Problem Solving)
ถ้าความกังวลหรือความสนใจต่อผลลัพธ์ทั้งต่อตนเองและในคู่กรณีอยู่ในระดับปานกลางคือ ไม่สูง ไม่ต่ำ
คือ การประนีประนอม (Compromise)
การใช้บุคคลที่สาม (Third party) คือการใช้คนกลาง
ที่ไม่ยุ่งเกี่ยวกับสถานการณ์ที่เป็นปัญหามาทำหน้าที่แนะนำไกล่เกลี่ย
การใช้เป้าหมายอื่นที่สำคัญเหนือความขัดแย้ง (Super ordinate Goals)
นางสาวนภาพร ต้นพนม
รหัส 60170023