Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) - Coggle Diagram
การจัดการภาครัฐแนวใหม่
(New Public Management)
การบริหารงานภาครัฐแนวใหม่ (NPM)
ปรับเปลี่ยนการบริหารการจัดการภาครัฐโดยนำหลักประสิทธิภาพในระบบราชการ
แสวงหาการปฏิบัติงานราชการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ
โดยการนำการบริหารแบบเอกชนมาบริหารัฐ
การบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์
มุ่งเน้นการให้บริการกับประชาชนนึกถึงคุณภาพชีวิต
เหตุผลที่ต้องนำแนวคิดการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่มาใช้
กระแสโลกาภิวัตน์
ส่งผลให้สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกเปลี่ยน
องค์กรภาครัฐและเอกชนต้องเพิ่มประสิทธิภาพความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยน
สนองความต้องที่เปลี่ยนแปลง
ระบบราชการไทยมีปัญหาที่สำคัญ คือ
ความเสื่อมถอยของระบบราชการและการขาดธรรมาภิบาล
หากภาครัฐไม่ปรับเปลี่ยนและพัฒนาการบริหารภาครัฐเพื่อไปสู่องค์การสมัยใหม่โดยยึดหลักธรรมาภิบาลจะส่งผลบั่นทอนความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
ทั้งยังเป็นอุปสรรคการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต
จุดเริ่มต้นของการจัดการภาครัฐสมัยใหม่
เริ่มต้นขึ้นในศตวรรษที่ 20 เมื่อองค์การภาครัฐและเอกชนประสบปัญหา
การขยายองค์กรที่มีขนาดใหญ่
มีลำดับบังคับบัญชาที่ซับซ้อน
ระบบข้าราชการในหลายประเทศประสบปัญหาในด้านทักษะความสามารถของเจ้าหน้าที่รัฐ
ระบบราชการล้าหลัง ไม่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลง
ส่งผลทำให้งานของภาครัฐขาดประสิทธิภาพและประสิทธ์ผลและผลที่ตามมาคือ
ปัญหารายได้ที่ลดลงจาการเก็บภาษีเพราะวิกฤติเศรษฐกิจ
การขยายตัวของรัฐบาลมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจ
ในช่วงสมัยประธานธิบดีคาร์เตอร์ แห่งสหรัฐอเมริกา มีการปรับปรุงภาครัฐ
ออกพระราชบัญญัติปฏิรูประบบราชการ
ส่วนในภาคเอกชนไ้นำแนวคิดหลักการจัดการมาใช้อย่างจริงจัง
ด้วยเหตุนี้ารปฏิรูปราชการจึงเป็นกระแสสากล
เกิการเปลี่ยนแปลงในหลายประเทศ
ความเป็นมาของการจัดการภาครัฐสมัยใหม่
แนวทางในการจัดการภาครัฐแนวใหม่
การจัดการภาครัฐแนวใหม่มีผู้เสนอแนวทางไว้หลายแนวทาง นวทางที่นิยมใช้ในการดำเนินการมีดังนี้
แนวทางขององค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD)
มุ่งปรับปรุงภารกิจ2ด้าน
ด้านการผลิต
เป็นการยกระดับการผลิต
ปรับปรุงการบริหารทรัพยากร
การให้พนักงานมีส่วนรวมในการตัดสินใจ
การเอาหลักอุปสงค์และอุปมามาใช้
ด้านบริการ
นำวิธีการของภาคเอกชนมาใช้เพื่อส่งเสริมแข่งขันอย่างอิสระภาพ
แนวทางการจัดการภาครัฐแนวใหม่ตามข้อเสนอของ Hood
หลักสำคัญ7ประการ
จัดการโดยนักวิชาชีพที่ชำนาญการ
มีมาตรฐานและการวัดผลงานที่ชัดเจน
เน้นการควบคุมผลผลิตที่มากขึ้น
แยกหน่วยงานภาครัฐออกเป็นหน่วยย่อยๆ
เปลี่ยนภาครัฐให้แข่งขันกันมากขึ้น
2 more items...
การแยกหน่อยงานใหญ่เป้นหน่วยงานย่อยตามสินค้าที่บริการและผลิตให้เงินสนับสนุนแยกกันและติดต่อกันอย่างอิสระ
การใช้ทรัพยากรต้องเป็นไปตามผลที่วัดได้ เน้นผลสำเร็จมากกว่าระเบียบวิธี
ภาครัฐต้องมีจุดมุ่งหมายเป้าหมายการตรวจสอบมีได้จะต้องมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน
เป็นมืออาชีพจัดการตัวเอง มีความโปร่งใส่และมีความรับผิดชอบ
แนวทางการจัดการภาครัฐแนวใหม่ตามข้อเสนอของ Holmes and Shand
ลักษณะสำคัญ 8 ประการ
การบริหารเชิงกลยุทธ์
กลยุทธ์และการตัดสินใจ เช่นประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
โครงสร้างองค์การแบบรวมอำนาจให้เป็นการกระจายอำนาจสู่จุดปฏิบัติการ
เป็นจุดที่รับความคิดเห็นของประชาชน
ความยืดหยุ่นในการจัดการและปฏิบัติงาน
ยืดหยุ่นการแสวงหาทางเลือกการบริหารสาธารณะ
ให้อำนาจเพียงพอกับความรับผิดชอบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
โดยจัดอำนาจหน้าที่รับผิดชอบให้มีความสมดุลกันเพื่อความรับผิดชอบ
สร้างสิ่งแวดล้อมให้มีการแข่งขันภายในองค์การ
สร้างกลยุทธ์เป็นจุดศูนย์กลางของการกำกับทิศทาง
เพื่อให้รัฐบาลตอบสนอง รวดเร็วและใช้จ่ายน้อยที่สุด
สร้างระบบการรายงานผลที่โปร่งใสและการตรวจสอบได้
มีความรับผิดชอบตรวจสอบได้และโปร่งใส
วางระบบงบประมาณที่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง
ระบบการจัดการและงบประมาณที่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง
การสร้างการแข่งขันหน่วยงานและระหว่างหน่วยงาน
แนวทางการจัดการภาครัฐแนวใหม่ตามข้อเสนอของ Pollitt
การเปลี่ยนแปลงหลักบริหารที่เน้นปัจจัยนำเข้า(input)
กระบวนการ (process)
มุ่งเน้นผลผลิต (output)
ผลลัพธ์ (outcome)
การสร้างระบบการวัดงาน กำหนดตัวชี้วัดและผลงาน
ต้องการองค์การเฉพาะด้าน โครงสร้างที่กระทัดรัด ราบลืน มีอิสระ
ใช้วิธีการแจ้งงานตามสัญญามากกว่าการทำตามบังคับบัญชา
ใช้กลไกลการตลาดในการจัดทำบริการสาธารณะ
การแปรรูป จ้างเหมา เป็นต้น
สร้างความร่วมือระหว่างรัฐกับเอกชนในการปฏิบัติงานร่วมกัน
เปลี่ยนค่านิยม จากหลักสากล หลัดเสมอภาค หลักมั่นคง
มาให้ความสำคัญกับหลักประสิทธิภาพและปัจเจกบุคคล
กระบวนการบริหารตามแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่
สามารถดำเนินการแนวคิดที่ได้กล่าวมาดังนี้
การใช้การวางแผนกลยุทธ์
การวางแผนในระยะยาว ภารกิจ วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ สภาพแวดล้อม จุดแข็ง จุดอ่อน
มุ่งเน้นการจัดการมากกว่าการบริหาร
เน้นผู็จัดการมืออาชีพมาดำเนินการให้นโยบายบรรลุผลสำเร็จ
การเน้นผลสำเร็จ
ผลลัพธ์การทำงาน ในระดับบุคคลและองค์การ
การปรับปรุงการบริหารงานคลัง
งบประมาณที่เน้นผลงานมาใช้แทนงบประมาณ
การจัดคนเข้าทำงานอย่างยืดหยุ่น
การจัดองค์การอย่างยืดหยุ่น
การเปลี่ยนไปสู่การแข่งขันมากขึ้น
1 more item...
แยกองค์การเป็นหน่อยย่อยและประเมินผลงานขององค์การหน่วยนั้น
มุ่งเน้นการทำงานที่ไม่ยึดโยงกับราชการแต่เน้นจากคนตามผลงาาน
การจ้างเหมาแนวใหม่
การจัดการตามแบบภาคเอกชน
การเปลี่ยนระบบความสัมพันธ์กับนักการเมือง
การเปลี่ยนความสัมพันธ์กับประชาชน
การแยกผู้ซื้อกับผู้จัดซื้ออกจากกัน
การตรวจสอบรัฐบาลในหลายวิธี
เพื่อเป็นหลักประกันว่าดำเนินไปตามเป้าหมายที่กำหนด
ภาครัฐไม่จำเป็นต้องดำเนินงานแต่ให้ภาคเอกชนเข้ามทำแทนภาครัฐทำหน้าที่ควบคุม
ผู้จัดการเน้นไปที่การรับผิดประชาชนในฐานะผู้บริการ
ผู้จัดการต้องมีความสัมพันธ์กับนักการเมืองอย่างแยกไม่ได้แต่อยู่บนฐานที่ตรวจสอบผลงานได้
จัดคนเข้าทำงานประเมินงานให้รางวัลแบบคุณธรรมและจ้างระยะสั้น
มีการทำสัญญาจ้างงานและตกลงกันตามตัวชี้วัด
ทฤษฎีของการจัดการภาครัฐแนวใหม่
เกิดขึ้นจากทฤษฎี 2 ทฤษฎีหลัก ๆ คือ
ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์สถาบันใหม่
การเปรียบเทียบระหว่างภาครัฐกับเอกชนในการดำเนินงานและเปรียบเทียบกับการจ้างเหมาบริการจากภายนอกกับการดาเนินการโดยรัฐเอง
ทฤษฎีย่อย คือ
ทฤษฎีทางเลือกสาธารณะ
การปฏิรูปการบริหารงานภาครัฐจากเดิม เน้นศุนย์อำนาจมาสู่ระบบอำนาจหลายศูนย์
มีการแข่งขันกันในการให้บริการไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ หรือภาคเอกชน เป็นต้น
ทฤษฎีการจัดการนิยม
เน้นวัตถุประสงค์ ผลสัมฤทธิ์ ผลลัพธ์ ผลผลิต
การพัฒนาคุณภาพบริการภาครัฐเพื่อสร้างความพึงพอใจกับประชาชน
ประยุกต์ใช้การจัดการสมัยใหม่
ข้อวิพากษ์ต่อแนวทางการจัดการภาครัฐสมัยใหม่
แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ
ข้อวิพากษ์ในแง่ของแนวคิดทฤษฎี
การนำเอาวิธีของภาคเอกชนมาใช้ไม่ใช้เรื่องใหม่ ในอดีตได้เคยมีการนำเอาวิธีของภาคเอกชนมาใช้นานแล้ว เช่น แนวคิดการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ และการจัดการคุณภาพทั้งองค์กร เป็นต้น
การจัดการภาครัฐแนวใหม่ไม่ได้เป็นแนวคิดที่ชัดเจนและมีความเห็นตรงกันทั้งหมด หรือมีแนวทางปฏิบัติที่เป็นสากลแต่อย่างใด แต่การจัดการภาครัฐแนวใหม่มีการนำไปใช้ในแต่ละประเทศจะมีความหลากหลายขึ้นอยู่กับบริบทของแต่ละประเทศ
ข้อวิพากษ์ในแง่ของปัญหาที่เกิดจากการนำแนวคิดไปปฏิบัติ
ปัญหาทางด้านการเพิ่มขึ้นของปัญหาเชิงจริยธรรม
ปัญหาทางด้านการแทรกแซงทางการเมือง
ปัญหาทางด้านความไม่เท่าเทียมของการให้บริการ
ปัญหาทางด้านการสูญเสียบทบาทของภาครัฐในฐานะผู้นำ
ปัญหาทางด้านการสูญเสียบทบาทของภาครัฐในฐานะผู้นำ
ปัญหาด้านการลดลงของการไว้วางใจสาธารณะ