Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาท หน้าที่ และศักยภาพของนักส่งเสริม - Coggle Diagram
บทบาท หน้าที่ และศักยภาพของนักส่งเสริม
แนวคิดเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่นักส่งเสริม
ความหมายและประเภทของนักส่งเสริม
นักส่งเสริมคือ บุคคลที่จัดบริการความรู้แก่เกษตรกร หรือเป็นผู้นำการ เปลี่ยนแปลงให้เกษตรกรเกิดการเรียนรู้และเปลี่ยนแปลงทั้งมิติของความรู้ (knowledge)
ทัศนคติ (attitude) และพฤติกรรม (practice) เพื่อให้เกิดการพัฒนาตนเอง รวมถึงครัวเรือน และชุมชนให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น อย่างยั่งยืน
เจ้าหน้าที่ส่งเสริมภาครัฐ
นักส่งเสริมภาคเอกชน
นักส่งเสริมภาคประชาชน
บทบาทของนักส่งเสริม
ผู้ถ่ายทอดความรู้
ที่ปรึกษา
ผู้ประสานงาน
นักรวมกลุ่ม
นักวิจัยและพัฒนา
ผู้จัดกระบวนการ
นักประชาสัมพันธ์
ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
หน้าที่ของนักส่งเสริม
หน้าที่สำคัญในการเป็นนักส่งเสริมประกอบไปด้วย
หน้าที่ในการถ่ายทอดความรู้ หน้าที่ส่งเสริมการรวมกลุ่ม หน้าที่ให้คำปรึกษา หน้าที่เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และให้บริการข้อมูลสารสนเทศ และหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงเกษตรกร
การเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริม
ศักยภาพและสมรรถนะของนักส่งเสริม
สมรรถนะของนักส่งเสริม ประกอบด้วย
ความรู้
ทักษะ
คุณลักษณะส่วนบุคคล
การเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริม เริ่มจากถ่ายทอดความรู้ที่เกี่ยวข้องกับงานทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร เพื้อให้นักส่งเสริมเกิดเป็นทักษะ ในการปฎิบัติงาน และเกิดเป็นคุณลักษณะส่วนบุคคล ที่ดีในการปฏิบัติงานส่งเสริม
การเสริมสร้างศักยภาพของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมภาครัฐ
มุ่งเน้นการเสริมสร้างศักยภาพของเจ้าหน้าที่ให้มีสมรรถนะครบทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะส่วนบุคคล ที่จะทำให้เจ้าหน้าที่มีสมรรถนะอย่างเต็มที่ สามารถปฏิบัติราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
หรือเกษตรกรเป้าหมาย
การเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริมภาคเอกชน
กำหนดวิสัยทัศน์
กำหนดสมรรถนะหลักขององค์กร
กำหนดสมรรถนะของบุคลากร
กำหนดรายละเอียดงานและ
กิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพ
การเสริมศักยภาพของนักส่งเสริมภาคประชาชน
การเรียนรู้จากการสอนงาน
การเรียนรู้งานจากการปฏิบัติงานจริง
การเรียนรู้จากงานวิจัย
กรณีศึกษาการเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริม
กรณีศึกษาการเสริมสร้างศักยภาพ
ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมภาครัฐ
เรียนด้วยตัวเองผ่านระบบอีเลิร์นนิ่ง
โดยกรมส่งเสริมการเกษตร
กรณีศึกษาการเสริมสร้างศักยภาพ
ของนักส่งเสริมภาคเอกชน
บริษัท น้ำตาลพิษณุโลก
เป็นการเสริมสร้างศักยภาพให้บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้ตาม รายละเอียดของงานในแต่ล่ะตำแหน่ง โดยมีวิธีการสอนงานโดยมี
พี่เลี้ยงคอยสอนงาน
กรณีศึกษาการเสริมสร้างศักยภาพ
ของนักส่งเสริมภาคประชาชน
มุ่งพัฒนาให้เป็น Young smart และ SMEs
ผู้ประกอบการ SMEs สามารถเป็นนักส่งเสริมภาคประชาชนให้กับเกษตรกรรายอื่นๆ ให้ประสบความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจได้่