Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
cardiovascular pathophysiology - Coggle Diagram
cardiovascular pathophysiology
ภาวะช็อค shock
ภาวะที่มีการไหลเวียนโลหิตไปยังเนื้อเยื่อไม่เพียงพอ จึงทำให้ขาดออกซิเจนและสารที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต การทำงานของอวัยวะต่างๆก็จะล้มเหลว
ชนิดของภาวะช็อค
1 ช็อคจากปริมาณไหลเวียนเลือดลดลง hypovolemic shock
เกิดจากการสูญเสียปริมาตรน้ำในหลอดเลือด
สูญเสียน้ำ เกลือแร่ สูญเสียพลาสมา
เกิดจากการสูญเสียจากการได้รับบาดเจ็บมีหลอดเลือดฉีกขาด
2 ช็อคจากหัวใจ cardiogenic shock
หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปให้เนื้อเยื่อได้เพียงพอ
ทำให้หลอดเลือดอุดตัน เนื้อเยื่อขาดออกซิเจนมากขึ้น
3 ช็อคจากหลอดเลือด distributive shock
ช้อคจากการติดเชื้อ septic shock
เกิดจากการได้รับ endotoxin ของ bacteria ทำให้มีหลอดเลือดขยาย ทำให้ความดันโลหิตลดลง
ช็อคจากการแพ้
การแพ้ยา เช่น ยาปฏิชีวนะ แอสไพริน สารทึบแสงสำหรับการตรวจวินิจฉัย พลาสม่า วัคซีน
แพ้อาหาร เช่น อาหารทะเล หอย หมึก กุ้ง
ทำให้ร่างกายหลั่ง histamine และ inflammtory chemical ออกมาทำให้หลอดเลือดขยาย และ increase capillary permeability ทำให้ความดันโลหิตลดลง
ช็อกจากระบบประสาท
เกิดจากการมี trauma ต่อ spinal cord ทำให้มีการสูญเสียหน้าที่ของซิมพาเทติกที่ควบคุมหลอดเลือดทำให้หลอดเลือดคลายตัว
ปริมาณการไหลเวียนเลือดในร่างกายไม่เพียงพอ
เกิดจากการเสียหน้าที่ของ sympathetic tone ของหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดขยายตัว
4 ช็อคจากการถูกปิดกั้นหลอดเลือด obstructive shock
เป็ภาวะที่ทีการปิดกั้นของหลอดเลือด ที่จะไหลเข้าสู่หัวใจ หรืออกจากหัวใจ
อาการ
จะเริ่มสับสน ซึม เฉยเมย อาจจะวิงเวียนเป็นลมหมดสติเมื่อลุกยืน
ในระยะแรกจะชีพจรจะเร็วและแรง ความดันโลหิตจะปกติหรือลดลงประมาณ 10-20 %
ไตจะได้รับเลือดน้อยลง จึงสร้างปัสสาวะออกมาน้อยกว่าปกติ
อาจจะมีอาการคลื่นไส้อาเจียน
มีผิวหนังเย็น ซีด ชื้น
การรักษา
ต้องวินิจฉัยให้ได้อย่างรวดเร็วว่าเกิดภาวะช็อค เกิดจากสาเหตุใด อย่างไร
เพิ่มออกซิเจนในกระแสเลือด
ประเมินผลเพื่อปรับการรักษา โดยตรวจร่างกาย ระดับความรู้สึก วัดสัญญาณชีพ
ความผิดปกติของการทำงานของหัวใจ
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มหัวใจ
เยื่อหุ้มหัวใจมี 2 ชั้น
ทำหน้าที่แยกหัวใจออกจากอวัยวะอื่นในช่องอก และป้องกันหัวใจไม่ให้ยึดขยายออกมากเกินไป
pericardial effusion หัวใจถูกบีบรัด
เป็นภาวะที่มีสารน้ำหรือเลือดในช่วงเยื่อหุ้มหังใจมากกว่าผิดปกติ
สาเหตุจากการบาดเจ็บบริเวณทรวงอก ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัดหัวใจ มะเร็ง ภาวะไตวายระยะสุดท้าย
pericarditis
กานอักเสบของเยื่อหุ้มหัวใจ เกิดจากการติดเชื้อในบริเวณอื่นของร่างกายหรือการติดเชื้อที่หัวใจมาก่อน
อาการที่พบ มีอาการปวดบริเวณทรวงอก อาจปวดไปถึงบริเวณคอ หลัง ท้อง
ความผิดปกติในจังหวะการเต้นของหัวใจ
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจและลิ้นหัวใจ
angina pectoris อาการเจ็บหน้าอก
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด เกิดจากการสะสมกรดแลกติค
ลักษณะการเจ็บหน้าอกที่เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดจะร้าว ไปที่ไหล่ คอและแขนด้านใน
ความผิดปกติของหลอดเลือดของหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี
เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดแดงโคโรนารีที่มีลักษณะแข็งหรือตีบจนทำให้การไหลเวียนของเลือดลดลงและเกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ความผิดปกติของหัวใจในเด็ก
shunt ภาวะที่มีการเชื่อมต่อกันของวงจรเลือดดำและเลือดแดง
left-to-right shunt
ความผิดปกติที่มีหลอดเลือดแดง ปะปนกับเลือดดำ
เนื่องจากแรงดันเลือดในวงจรเลือดแดง จะสูงกว่าวงจรเลือดดำ ทำให้เมื่อเชื่อมต่อกัน จะเกิดเลือดแดงปะปนกับเลือดดำ ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะไม่มีอาการเขียวคล้ำ