Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 14 ทักษะการสื่อสารสำหรับครู - Coggle Diagram
บทที่ 14
ทักษะการสื่อสารสำหรับครู
ทักษะการสื่อสารของครูต่อผู้เรียนมีความสำคัญเพราะสามารถช่วยผู้เรียนที่กำลังมีปัญหาต้องเข้าใจปัญหาของผู้เรียนว่ามีสาเหตุมาจากภายนอกหรือภายในห้องเรียน
บางครั้งครูสามารถแก้ปัญหาของผู้เรียนโดยการตั้งใจฟังสิ่งต่างๆและให้กำลังใจชี้แนวทางสำหรับการแก้ปัญหาที่ผู้เรียนสามารถเลือกหรือปรับใช้ให้เหมาะกับสถานการณ์ยุทธศาสตร์การสื่อสาร
การที่จะใช้การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพจำเป็นต้องมีทักษะที่จำเป็น 3 ประการ
1. การแสดงความเข้มแข็ง คือ การสนับสนุนให้ปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้น
2. การแสดงความเห็นอกเห็นใจ คือ การรับฟังและเข้าใจผู้เรียนโดยรักษาความสัมพันธ์ที่ดีมีการพูดคุยปรึกษาหารือกัน
3. การแก้ปัญหา การแก้ปัญหามีหลายขั้นตอนเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อตกลงอันเป็นที่พอใจด้วยกันมีความจำเป็นต้องวางแผนกับผู้เรียนเพื่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลง
ความเข้มแข็ง
ความเข้มแข็งเป็นความสามารถที่จะยืนยันในสิทธิตามกฎหมายที่คนอื่นจะละเมิดหรือล่วงล้ำไม่ได้
* สร้างสรรค์ ลักษณะที่สร้างความเป็นมิตรของครูต่อผู้เรียน
ความเข้มแข็งจะเป็นแนวทาง ควบคุมพฤติกรรมก้าวร้าว
1. การชี้ให้เห็นปัญหา
- ชี้พฤติกรรมของผู้เรียนที่กำลังเกิดขึ้น
- บอกผลกระทบของพฤติกรรม
การคุยกันและการส่งข้อความการในระหว่างที่มีการอภิปรายจะรบกวนผู้เรียนคนอื่นๆที่กำลังเรียน
ขอให้ผู้เรียนยกมือแล้วผู้สอนเรียกชื่อให้ตอบ
การ เดินไป รอบๆห้องจะรบกวนคนอื่นๆ
การพูดคำหยาบต่อคนอื่น ทำให้คนอื่นรู้สึกไม่ดี (คำด่า)
2. ภาษาท่าทาง
การแสดงความเข้มแข็ง จริงจังของครูต่อผู้เรียนด้วยท่าทางมี 3 ลักษณะ
ดูตาผู้เรียน
การเข้าไปใกล้ผู้เรียนแต่ไม่ใกล้จนเกินไปจนผู้เรียนกลัว ควรหันหน้าไปทางผู้เรียน ยืดตัวตรง ให้ผู้เรียนเห็นว่าผู้สอนเอาจริง
ต้องแสดงสีหน้าลักษณะในหน้าให้เหมาะสมพร้อมน้ำเสียงที่เหมาะสม
3. การให้ได้มาซึ่งพฤติกรรมที่เหมาะสม
ปฏิเสธที่จะทำ
โต้แย้ง
แก้ตัว
โทษคนอื่น
ความเห็นอกเห็นใจ
ความสามารถในการรับฟังผู้เรียนด้วยความเห็นใจ เป็นภาษาที่แสดงให้เห็นว่า
ครูตระหนัก
สนใจ
ยอมรับฟัง
ตั้งใจที่จะทำความเข้าใจ
ครูควรมีพฤติกรรมต่างๆต่อไปนี้เพื่อการแก้ปัญหา
ครูหลีกเลี่ยงการโต้แย้งกับผู้เรียนและยอมรับปัญหาของผู้เรียน
การรับฟังอย่างเห็นอกเห็นใจ การรับฟังอย่างนั้นอกเห็นใจมี 2 องค์ประกอบ 2 ทักษะ ทักษะการฟัง /ทักษะกระบวนการ
ทักษะการฟัง
การยอมรับการแสดงออกทางอารมณ์ หรือความคิดของผู้เรียนอย่างน้อยก็แสดงให้เห็นว่าเรารับฟังโดยเพียงแต่ตั้งใจฟัง หรืออาจจะใช้เสียง อ๋อ อย่างนั้นหรือ เล่าต่อไปซิ เป็นอย่างไรต่อไป น่าสนใจ
ครูอาจสัมผัสหรือตบเบาๆที่ไหล่หรือกอดเบาๆ
ทักษะกระบวนการ
ทักษะกระบวนการ อาศัยความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูล ข้อความที่คุณได้รับจากผู้เรียน
การแก้ปัญหา
แนวทางร่วมกับผู้เรียนเพื่อลดปัญหาหรือแก้ปัญหา
ขั้นตอนในการแก้ปัญหามีดังนี้
กำหนดปัญหา
ใช้แนวทางการแก้ปัญหา
เลือกแนวทางใดๆในบางสถานการณ์
ขั้นตอนในการพูดคุยระหว่างครู-ผู้เรียนเพื่อแก้ปัญหา
ขั้นที่ 1 ชี้ปัญหา
ขั้นที่ 2 การเลือกแนวทางการแก้ปัญหา
ขั้นที่ 3 การตกลงในข้อผูกมัด
กิจกรรมเสนอแนะ
กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาทักษะความเข้มแข็ง
ขั้นที่ 1 ให้เขียนปัญหาให้ชัดเจนแล้วเปรียบเทียบกับของคนอื่น
ขั้นที่ 2 ใช้บทบาทสมมติตามสถานการณ์
ขั้นที่ 3 ให้รับการให้ข้อมูลย้อนกลับ
กิจกรรมที่ 2 Producing Empathic Responses
กิจกรรมนี้ให้ทำร่วมกับคนอื่นๆ โดยผลัดกันแสดงบทบาท เป็นครู-ผู้เรียน โดยผู้ที่แสดงเป็นครูให้ฝึกทักษะการแสดงความเห็นอกเห็นใจ และผู้แสดงบทบาทเป็นผู้เรียนก็พยายามแสดงให้สมบทบาทที่สุด
กิจกรรมที่ 3 การฝึกการแก้ปัญหา
ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้เผชิญปัญหา
รับรู้ปัญหา
กิจกรรมที่ 4 การวิเคราะห์บทสนทนา
ครูใช้การแก้ปัญหา
ความเข้มแข็ง
การแสดงความเห็นอกเห็นใจ