Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พศ 2542 - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พศ 2542
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.ให้ไว้ ณ วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2542 เป็นปีที่ 54 ในรัชกาลปัจจุบัน ซึ่งมีมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา 3 บรรดากฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ ที่ซึ่งขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ. ศ. 2542
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา
สถานศึกษา
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน
การประกันคุณภาพภายใน
การประเมินและการติดตาม
ครู
บุคลากรวิชาชีพการเรียนการสอนแะการส่งเสริม
ผู้บริหารการศึกษา
บุคลากรวิชาชีพ
บุคลากรทางการศึกษา
คณาจารย์
บุคลากรด้านการสอนและวิจัย
มาตรา 5 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีอำนาจออกกฏ
หมวด 1 บททั่วไป ความมุ่งหมายและหลักการ
มาตรา 7 ปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง
มาตรา 8 การจัดการศึกษาให้ยึดหลักดังนี้
ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
มาตรา 6 เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
มาตรา 9 การจัดระบบโครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
มาตรา 10 การจัดการศึกษา รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่า 12 ปี
มาตรา 13 บิดา มารดา มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์
เงินอุดหนุนจากรัฐ
การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษา
การสนับสนุนจากรัฐ
มาตรา 11 บิดา มารดา หรือผู้ปกครอง มีหน้าที่จัดให้บุตรได้รับการศึกษา
มาตรา 12 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีสิทธิจัดการศึกษา
มาตรา 14 บุคคล ครอบครัว ชุนชนองค์กรวิชาชีพ สนับสนุนการศึกษา มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์
หมวด 3 ระบบการศึกษา
มาตรา 17 ภาคบังคับ เก้าปี ศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก
มาตรา18 การศึกษาปฐมวัย
มาตรา 15 การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรา 16 การศึกษาในระบบมีสองระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หมวด 4 แนวทางการจัดการศึกษา
มาตรา 22 ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด
มาตรา 23 การจัดการศึกษา ต้องเน้นความสำคัญ ทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการ
มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้
มาตรา 25 รัฐส่งเสริมและจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต
มาตรา 26 ให้สถานศึกษาจัดประเมินผู้เรียน
มาตรา 27 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดหลักสูตรแกนกลาง
มาตรา 28 หลักสูตรการศึกษาระดับต่างๆ ต้องมีลักษณะหลากหลาย
มาตรา 29 ให้สถานศึกษาร่วมกับ ครอบครัว ชุมชน ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนโดยกระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชน
มาตรา 30 ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
ส่วนที่ 1 การบริหารและการจัดการศึึกษาของรัฐ
มาตรา 31 ให้กระทรวงมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท
มาตรา 32 ให้กระทรวงมีองค์กรหลักที่่เป็นคณะบุคคลในรูปแบบสภา
มาตรา 33 สภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีจำนวนไม่น้อยกว่าจำนวนกรรมการประเภทอื่นรวมกัน
มาตรา 34 องค์ประกอบของคณะกรรมการ มีจำนวนไม่น้อยกว่าจำนวนกรรมการประเภทอื่นรวมกัน
มาตรา 35 องค์ประกอบของคณะกรรมการมาตรา 34 มีจำนวนไม่น้อยกว่าจำนวนกรรมการประเภทอื่นรวมกัน
มาตรา 36 ให้สถานศึกษาระดับปริญญาเป็นนิติบุคคล
มาตรา 37 การบริหารและจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับต่ำกว่าปริญญาตรีคำนึงถึงปริมาณสถานศึกษา จำนวนประชากรเป็นหลัก
มาตรา 38 คณะกรรมการมีหน้าที่ในการกำกับดูแลสถานศึกษา
มาตรา 39 กระทรวงกระจายอำนาจการบริหารและจัดการศึกษา
มาตรา 40 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครูฯ
ส่วนที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตรา 41 มีสิทธิจัดการการศึกษาในระดับใดระดับหนึ่งหรือทุกระดับ
มาตรา 42 กระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษา
ส่วนที่ 3 การบริหารและการจัดการการศึกษาของเอกชน
มาตรา 44 ให้สถานศึกษาเอกชนตามมาตรา 18 (2) เป็นนิติบุคคล และคณะกรรมการบริหาร
มาตรา 43 การศึกษาเอกชนให้มีความอิสระ
มาตรา 45 จัดการศึกษาได้ทุกระดับ ทุกประเภท
มาตรา 46 รัฐให้การสนับสนุนด้านการเงิน
หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา 47 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อ พัฒนาคุณภาพ และ มาตรฐานการศึกษา ทุกระดับ
มาตรา 48 จัดให้มี ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
มาตรา 49 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
มาตรา 50 ให้ สถานศึกษา ให้ความร่วมมือ ในการจัดเตรียมเอกสารหลักฐานต่างๆ
มาตรา 51 สถานศึกษาใด ไม่ได้ตามมาตรฐานที่กำหนด จัดทำข้อเสนอแนะ การปรับปรุงแก้ไข ต่อหน่วยงานต้นสังกัด
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 63 รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่เพื่อใช้ประโยชน์สำหรับ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรา 64 รัฐต้องส่งเสริม พัฒนาแบบเรียน ตำรา หนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์ และ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น
มาตรา 65 มีพัฒนาบุคลากร ผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 66 ผู้เรียน มีสิทธิได้รับ การพัฒนาขีดความสามารถ
มาตรา 67 รัฐ ต้องส่งเสริม ให้มี การวิจัยและพัฒนา การผลิตและการพัฒนา เทคโนโลยี เพื่อการศึกษา
มาตรา 68 ให้มี การระดมทุน เพื่อ จัดตั้ง กองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 69 รัฐ ต้องจัดให้มี หน่วยงานกลาง
หมวด 7 ครู คณาจารย์ และ บุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 52 รัฐ พึงจัดสรร งบประมาณ และ จัดตั้ง กองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และ บุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 53 ให้มี องค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และ ผู้บริหารการศึกษา
มาตรา 54 ให้มี องค์กรกลางบริหารงานบุคคล
มาตรา 55 ให้มี กฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ และ สิทธิประโยชน์เกื้อกูลอื่น
มาตรา 56 การผลิตและพัฒนา ระดับปริญญา ที่เป็น นิติบุคคล
มาตรา 57หน่วยงานทางการศึกษา ระดม ทรัพยากรบุคคล ในชุมชน ให้มีส่วนร่วม ในการ จัดการศึกษา
หมวด 8 ทรัพยากร และ การลงทุนเพื่อการศึกษา
มาตรา 58 การระดมทรัพยากร และ การลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน และ ทรัพย์สิน มาใช้ จัดการศึกษา
มาตรา 59 สถานศึกษาของรัฐมีอำนาจในการปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใช้ และ จัดหาผลประโยชน์ จาก ทรัพย์สิน ของ สถานศึกษา
มาตรา 60 รัฐ จัดสรรงบประมาณแผ่นดิน ให้กับการศึกษา
มาตรา 61 รัฐ จัดสรร เงินอุดหนุนการศึกษาตามความเหมาะสม
มาตรา 62 ให้มี ระบบการตรวจสอบ ติดตาม และ ประเมิน ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
บทเฉพาะกาล
มาตรา 70 บทกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และ คำสั่ง เกี่ยวกับ การศึกษา ไม่เกินห้าปี
มาตรา 71 กระทรวง ทบวง กรม หน่วยงานการศึกษาไม่เกิน สามปี
มาตรา 72 ในวาระเริ่มแรก มิให้นำ บทบัญญัติ มาตรา 10 วรรคหนึ่ง และ มาตรา 17 มาใช้บังคับ จนกว่า จะมีการดำเนินการ
มาตรา 73 มิให้นำ บทบัญญัติใน หมวด 5 และ หมวด 7 มาใช้บังคับ
มาตรา 74 ที่การจัดตั้งกระทรวง ยังไม่แล้วเสร็จ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการ
มาตรา 75 ให้จัดตั้ง สำนักงานปฏิรูปการศึกษา
มาตรา 76 ให้มี คณะกรรมการบริหารสำนักงานปฏิรูปการศึกษา
มาตรา 77 ให้มี คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการบริหารสำนักงานปฏิรูปการศึกษา
มาตรา
มาตรา 78 นายกรัฐมนตรี เป็น ผู้รักษาการ ตาม พระราชกฤษฎีกา จัดตั้ง สำนักงานปฏิรูปการศึกษา