Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเครื่องมือประเมินการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย - Coggle Diagram
การสร้างเครื่องมือประเมินการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย
จิตพิสัย
แสดงออกในทางตรงข้ามกัน เช่น ชอบ ไม่ชอบ
4.การแสดงออกจะเปลี่ยนแปลงในความเข้ม
2.เฉพาะตัว ยากที่จะตัดสินถูก
5.เป็นความรู้สึกที่มีในเป้าหมาย
1.เกี่ยวกับความรู้สึก
แนวคิดการจำแนกลำดับตามความรู้สึกของตามแนวแครธโวลและคณะ
3.การรู้คุณค่า
3.2 การชื่นชอบคุณค่า
3.1 การรับคุณค่า
3.3 การยินยอมรับคุณค่า
4.การจัดระบบ
4.2 การจัดระบบคุณค่า
4.1 การสร้างมโนภาพของคุณค่า
ุ
5.ลักษณะนิสัย
5.1 การจัดหลักทัวไป
5.2 การสร้างลักษณะนิสัย
1.การรับรู้
1.3ควบคุมหรือคัดเลือกสิ่งที่เอาใจใส่
1.2การตั้งใจรับ
1.1การรู้จัก/ตระหนัก
2.การตอบสนอง
2.1 การยินยอมในการตอบสนอง
2.3 ความพึงพอใจในการตอบสนอง
2.2 ความเต็มใจทีจะตอบสนอง
ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิรก์ (Kohlberg)
ระดับก่อนจริยธรรม
ระดับปฏิบัติตามแบบแผนกฎเกณฑ์จริยธรรม
ระดับเหนือกฎเกณฑ์ หรือยึดหลักธรรมประจําใจ
เป้าเจตคติของออสกูด เรียกว่า มโนภาพ
องค์ประกอบด้านพลังอำนาจ
องค์ประกอบด้านกิจกรรม
องค์ประกอบด้านการประเมิน
การสร้างแบบเทอร์สโตน (Thurstone’s method)
ให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณา
คำนวณค่ามาตรา
เตรียมข้อความเพื่อประเมิน
เลือกข้อความขั้นสุดท้าย
ขั้นรวบรวมข้อความ
การตอบและการให้คะแนน
หลักการวัดเจตคติ
2.สิ่งเร้า
การตอบสนอง
ตัวบุคคลที่จะถูกวัดหรือเป้าที่จะวัด
วิธีสร้างแบบสอบถามแบบลิเคิอร์ท
กำหนดคำตอบ จะมีกี่คำตอบก็ได้ แต่มักนิยมให้เลือก 5 เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง
ตรวจสอบข้อความว่าสอดคล้องกับคำตอบหรือไม่
ข้อความที่สร้างขึ้นควรประกอบด้วย ข้อความที่แสดงถึงเจตคติทางบวก
นำแบบสอบถามไปทดลองใช้ (try out) เพื่อตรวจสอบคุณภาพ
สร้างข้อคำถามหลาย ๆ ข้อ ให้ครอบคลุมเนื้อหาที่ต้องการจะวัด
นำแบบสอบถามไปทดลองใช้ (try out) เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรง
กำหนดจุดประสงค์และเนื้อหาที่ต้องการจะวัด