Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิควิธีการ และการสื่อสารในการส่งเสริม และพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
เทคนิควิธีการ และการสื่อสารในการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และประเภทการสื่อสาร
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย และความสำคัญของการสื่อสาร
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนถ่ายทอดข้อมูลข่าวสาร
ความรู้ ความคิด ด้านการเกษตรไปสู่เกษตรกร
โดยผ่านช่องทางการสื่อสารและสื่อ
วัตถุประสงค์และประเภทการสื่อสาร
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การสื่อสารเป็นเครื่องมือที่สำคัญในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร เพื่อการถ่ายทอดความรู้ไปสู่้เกษตรกร
การสื่อสารจำแนกตามกระบวนการหรือการไหลของข่าวสาร
การสื่อสารจำแนกตามภาษาสัญลักษณ์ที่แสดงออก
การสื่อสารจำแนกตามจำนวนผู้สื่อสาร
องค์ประกอบของการสื่อสาร
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
นักส่งเสริม
ความรู้หรือข่าวสาร
สื่อ
ช่องทาง
การรับรู้
เกษตรกร
สิ่งรบกวน
ประเมินผล
การจัดการความรู้
และการแปลกเปลี่ยนเรียนรู้
แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การพัฒนาที่เน้นความต้องการขั้นพื้นฐาน
และทฤษฎีการพัฒนาแบบยั่งยืน
กำหนดระดับจำนวนประชากร
คำนึงถึงระดับการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด ต่อประชากรแต่ล่ะคน
รักษาและแสวงหาแหล่ง
ทรัพยากรที่ทดแทนได้
การคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ
ที่ช่วยประหยัดหรือเพื่อนำมาใช้
แทนที่แหล่งทรัพยากรที่ทดแทน
การสื่อสารเพื่อการเผยแพร่นวัตกรรม
กระบวนการรับนวัตกรรม คือกระบวนการตัดสินใจ
ยอมรับหรือปฏิเสธนวัตกรรม เป็นกระบวนการที่บุคคล
จะต้องผ่านขี่นตอนต่างๆ ตั้งแต่ขั้นแรกที่รู้เรื่องไปจนถึงขั้นตัดสินใจจะยอมรับหรือปฏิเสธนวัตกรรม
ขั้นรับรู้
ขั้นสนใจ
ขั้นไตร่ตรอง
ขั้นทดลองทำ
ขั้นยอมรับนำปฏิบัติ
การพัฒนาแบบพึ่งพาและการมีส่วนร่วมทางการสื่อสาร
การพัฒนาแบบพึ่งพา และการมีส่วนร่วมทางการสื่อสาร นำไปสู่การจัดทำแผนและกำหนด กลยุทธ์เพื่อการพัฒนาในระดับปฏิบัติในประเทศต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย
ปัจจุบันโครงการพัฒนาต่างๆ ในชนบท จะใช้กลยุทธ์การมีส่วนร่วมของประชาชน โดยอาศัยเครือข่ายการสื่อสารและข่าวสารเข้าไปช่วย
เทคนิคและวิธีการสื่อสารในการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
บุคคลเป้าหมายในการสื่อสารใน
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ในการติดต่อสื่อสารทางด้านส่งเสริมการเกษตร
มีนักส่งเสริมการเกษตร เป็นผู้ส่งสารต่างๆ ไปยังผู้รับคือเกษตรกร โดยผ่านช่องทางหรือสื่อต่างๆ งานจะประสบผลสำเร็จเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับผู้ส่งและผู้รับซึ่งเป็นผู้ที่มีความสำคัญ ต้องมีทักษะในการติดต่อสื่อสาร
ทัศนคติที่ดี ระดับความรู้ และพื้นฐานทางสังคมวัฒนธรรมที่สอดคล้องกัน
สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการรับสื่อของบุคคลเป้าหมาย ได้แก่ สภาพแวดล้อมภายในของตัวเกษตรกรเอง
คือความสามารถในการรับรู้ ระดับการศึกษา และจิตใจ
ในการเปิดรับ นอกจากนั้นยังมี สภาพแวดล้อมภายนอก อันประกอบด้วย สภาพทางสังคม เศรษฐกิจ และกายภาพ
เทคนิคและวิธีการสื่อสารตามช่องทางการสื่อสาร
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หากต้องการให้บุคคลเป้าหมายมีลักษณะของการเรียนรู้แบบได้รับความรู้ จะต้องใช้วิธีถ่ายทอดสารสนเทศจากภายนอก
หากต้องการให้บุคคลเป้าหมายมีลักษณะการเรียนรู้
ที่จะคงไว้หรือมีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติหรือเจตคติ
จะต้องใช้วิธีเรียนรู้โดยประสบการณ์ เช่น การอภิปรายกลุ่ม การสนทนาทางอ้อม สถานการณ์จำลอง เป็นต้น
หากต้องการให้บุคคลเป้าหมายเกิดทักษะ
จากการกระทำขึ้น จะต้องใช้วิธีฝึกหัดในทักษะ
ต่างๆที่ต้องการ เช่น การสาธิต
เทคนิคและวิธีการสื่อสารตามวิธีการ
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
วิธีการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามช่องทางการสื่อสารที่สำคัญและใช้ประโยชน์ ได้อย่างมาก คือ การสาธิตและการจัดทัศนศึกษา ซึ่งเป็นประโยชน์ในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่เกษตรกร