Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาชีวะอนามัย - Coggle Diagram
อาชีวะอนามัย
พยาบาลอนามัยชุมชน
แนวคิดและหลักการของพยาบาลอนามัยชุมชน
1.เน้นการมีส่วนร่วม ใช้วิธีที่ไม่วับซ้อน เหมาะสมกับศักยภาพผู้รับบริการ
2.เป็นบริการผสมผสาน องค์รวม และต่อเนื่อง
3.เน้นบริการเชิงรุก และผสมผสานกับงานอื่นๆ
การให้บริการของพยาบาลอนามัยชุมชน :
1.การประเมินสภาวะอนามัยชุมชน
2.การวินิจฉัยชุมชน
3.การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
5.การปฏิบัติตามแผน
4.การวางแผนในการแก้ไขปัญหา
6.การประเมินผล
7.การสรุปผลและการคืนข้อมูลให้ชุมชน
ลักษณะพยาบาลอนามัยชุมชน
1.มีมนุษยสัมพันธ์ดี
5.มีการประสานงานที่ดี
6.เป็นแบบอย่างที่ดีทางด้านสุขภาพ
4.มีความเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล
3.มีทักษะการตัดสินใจที่
2.มีทักษะการติดต่อสื่อสารที่ดี
7.เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ความหมายของพยาบาลอนามัยชุมชน
เป็นผู้ดูแลสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชนในเขตที่รับผิดชอบ ดูแลทั้งผู้ที่สุขภาพดีและผู้ที่ไม่เจ็บป่วย ผู้ที่อยู่ในภาวะเสี่ยงโรค และผู้ที่อยู่ในภาวะเจ็บ่วยเรื้อรังและเฉียบพลันทั้ง 4 มิติ ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูสุขภาพ
บทบาทการบริการอาชีวอนามัย
1.ประเมินผลอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงานและหาแนวทางควบคุมอันตราย
2.การตรวจสุขภาพคนงานก่อนเข้าทำงานและหลังเข้าทำงานเป็นระยะๆ
3.มีการปฐมพยาบาลคนงานที่ได้รับอุบัติเหตุก่อนนำส่งสถานพยาบาล มีการฟื้นฟูสมรรถภาพในการทำงานเพื่อให้สามารถทำงานได้ปกติ
4.ตรวจสุขภาพคนงานที่หายเจ็บป่วยแล้ว เพื่อดุว่าสามารถหรือเหมาะสมกับงานใหม่ได้เพียงใด
5.ให้สุขศึกษา สวัสดิการแ่เจ้าหน้าที่และคนงานที่เกี่ยวข้อง การจัดอบรม เอกสาร
6.จัดเครื่องป้องกันอันตรายส่วนบุคคล เครื่องป้องกันอันตรายจากฝุ่น แสง เสียง
7.มีการให้ภูมิคุ้มกันโรคแก่คนงาน การให้วัควีนป้องกันโรคไทฟอยด์
8.มีโครงการเรื่องโภชนาการเพื่อรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
9.บริการด้านสวัสดิการ การพักผ่อนหย่อนใจ
10.รวบรวมรายงานและสถิติเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน
การจัดบริการอาชีวอนามัย
บริการอาชีวสุขศาสตร์ในสถานประกอบการ
4.จัดให้มีสุขาภิบาลที่ดีในโรงงาน
3.จัดให้มีการปรับปรุงและควบคุมสิ่งแวดล้อม
2.ประเมินผลถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
1.ตรวจสอบสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เคมี กายภาพ ชีวภาพ
การปรับปรุงงานให้เหมาะสมกับคนงาน
2.จัดที่นั่งให้เหมาะสมกับงานที่ทำงาน
3.ด้านอื่นๆ ลดระยะเวลาในการทำงานให้สั้นงเพื่อให้คนทำงานได้มีการพักผ่อนสายตา
1.ออกแบบเครื่องจักรให้เหมาะสมกับคนงาน
บริการด้านป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
ตรวจสุขภาพ
1.ตรวจร่างกายคนงานก่อนเข้างาน
2.ตรวจร่างกายคนงานเป็นระยะๆหลังเข้าปฏิบัติงานแล้ว
3.ตรวจร่างกายในกล่มคนงานพิเศษ ผู้เยาว์ ผู้หญิง ผู้สูงอายุ
4.ตรวจร่างกายในกลุ่มที่ปฏิบัติงานเสี่ยงต่ออันตราย สารตะกั่ว แมงกานิส
5.ตรวจร่างกายหลังจากฟื้นฟูความเจ็บป่วยก่อนเข้าทำงานเดิม เพื่อดูความสมบูรณ์ของร่างกาย
ให้ภูมิคุ้มกันโรคติดต่อ ไข้ไทฟอยด์ บาดทะยัก
ให้สุขศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัย
ส่งเสริมโภชนาการ
จัดบริการด้านสวัสดิการ
การป้องกันและควบคุมการบาดเจ็บจากการประกอบอาชีพ
สาเหตุที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ
ไม่ได้ทำการแก้ไขอุปกรณ์ให้มีความปลอดภัย
สภาวะจิตใจของบุคคล ขาดความรู้ ไม่ตระหนักในเรื่องของความปลอดภัย
ไม่มีเครื่องป้องกันหรืออุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากการทำงาน/ประกอบอาชีพ
สภาวะร่างกายของบุคคล เกิดความเมื่อยล้าจากการทำงาน หูหนวก สายตาไม่ดี โรคประจำตัว
อุปกรณ์ไม่มีประสิทธิภาพ
การวิเคราะห์สาเหตุที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ
1.สาเหตุที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ
2.ส่วนที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ
3.สภาพของเครื่องจักรที่ไม่ปลอดภัยหรือสภาพการทำงานไม่ปลอดภัย
4.ชนิดของอุบัติเหตุุ
5.การปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัย
การป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจากการทำงานการจัดก่รปกปิดส่วนต่างๆของเคื่องจักรที่จะมีผลทำให้เกิดอุบัติเหตุขณะทำงาน
องค์ประกอบด้านบุคคล
ให้ความรู้การศึกษาเป็นรายบุคคล
ดูความสามารถของแต่ละบุคคลว่าเหมาะสมกับงานหรือไม่
จัดเครื่องมืออุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากการทำงาน ถุงมือ หน้ากาก
จัดฝึกงานเป็นการส่วนตัวสำหรับผู้รับผิดชอบหน้าที่นั้นๆ
สุขวิทยาส่วนบุคคล
การตรวจสุขภาพร่างกาย ควรจัดแพทย์ตรวจคนงานสม่ำเสมอ
องค์ประกอบทั่วไป
การพักผ่อนให้ร่างกายได้มีการพักผ่อนที่เพียงพอ
สิ่งแวดล้อม แสงสว่างต้องเพียงพอ อากาศถ่ายเทไม่แออัด
จัดหาหรือสับเปลี่ยนเครื่องมืออุปกรณ์เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ