Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 13 ความหมายและขอบเขตของการบริหารจัดการห้องเรียน, นางสาววิลาวัณย์…
บทที่ 13 ความหมายและขอบเขตของการบริหารจัดการห้องเรียน
ความหมายและขอบเขตของการบริหารจัดการ
การบริหารจัดการหมายถึงรูปแบบของกระบวนการทำงานอันเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับ กลุ่มคนจำนวนมากและเป็นศาสตร์อย่างหนึ่งอันเป็นความรู้ที่ทำให้ภารกิจบรรลุผลสำเร็จได้ด้วยดี
บทบาทของครูในฐานะนักบริหารจัดการที่มีภารกิจในห้องเรียน
บทบาทด้านข้อมูล
บทบาทการกระจายหรือแจกจ่ายข้อมูล
บทบาทการรวบรวมข้อมูล
บทบาทการให้ข้อมูล
บทบาทด้านการตัดสินใจ
บทบาทการแก้ปัญหา
บทบาทเป็นนักแบ่งสรรทรัพยากร
บทบาทเป็นผู้คิดริเริ่มกิจการ
บทบาทเป็นนักเจรจาข้อขัดแย้ง
บทบาทในด้านความสัมพันธ์ระหว่างกัน
บทบาทเป็นพระอันดับ
บทบาทเป็นผู้นำ
บทบาทเป็นคนกลาง
มโนทัศน์การบริหารจัดการห้องเรียนมีความคิดเห็นหรือความคิดที่กว้างกว่าวินัยของผู้เรียน
เชื่อมั่นว่าผู้เรียนทุกคนกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้
ส่งเสริมให้นักเรียนมีวินัยต่อตนเอง เข้าใจตนเอง ประเมินตนเองและควบคุมตนเอง
บ่มเพาะผู้เรียนให้เกี่ยวข้องและให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมห้องเรียน
จัดห้องเรียนให้เคลื่อนไหวตลอดเวลาให้สัมพันธ์กับความรู้สึก ความเคารพ และความน่าเชื่อถือ การพูดคุยระหว่างครูกับผู้เรียน การควบคุมเสียง การเปลี่ยนพฤติกรรมและวินัย
การสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้
รูปแบบและการเสริมแรงมีคุณค่าต่อการให้ความเคารพ ความซื่อสัตย์ และพฤติกรรมที่เหมาะสมกับโอกาส
ขอบเขตการบริหารจัดการในห้องเรียน
การปฏิบัติการบริหารจัดการในห้องเรียนที่ดีเริ่มต้นตั้งแต่วันแรกของโรงเรียนการบริหารจัดการในห้องเรียนจะไม่จบลงด้วยตัวเองการบริหารจัดการในห้องเรียนเป็นกิจกรรมหลักของครูที่ใช้แสดงบทบาทภาวะผู้นำและไม่สามารถแยกออก
การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
การให้รางวัลและการลงโทษ -การพัฒนากิจกรรมห้องเรียน
รูปแบบของการสอน
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การจูงใจผู้เรียน
การใช้ภารกิจการสอนที่แตกต่างกัน
การบริหารจัดการในห้องเรียนที่มีประสิทธิภาพมี 3 มุมมองสำคัญ
มโนทัศน์ของการบริหารจัดการในห้องเรียน
การบริหารจัดการห้องเรียนกับครูใหม่
การบริหารจัดการห้องเรียนกับการจัดการเรียนการสอน
ความรู้ที่ใช้เป็นฐานในการบริหารจัดการห้องเรียน
ควรจัดให้มีข้อแนะนำเกี่ยวกับหลักการการสอนต่างๆ
ความเข้าใจในการบริหารจัดการในห้องเรียน
การวางแผน
การบริหารจัดการด้านการสนับสนุน
การบริหารจัดการด้านการป้องกัน
การบริหารจัดการด้านพฤติกรรม
การบริหารจัดการห้องเรียนในศตวรรษที่ 21 ควรมีลักษณะอย่างไร
การเตรียมครูเพื่อสอน ในห้องเรียนก่อนศตวรรษที่ 21 จะพบกับความท้าทายของการเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างทางสังคมในยุคสังคมสารสนเทศด้วยเหตุผลของกระบวนการโลกาภิวัตน์เด็กๆ ที่อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมของสังคมในยุคสังคมสารสนเทศมีประสบการณ์ที่แตกต่างกว่าประสบการณ์ของผู้ใหญ่
ครูต้องได้รับการฝึกทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา ครูจำเป็นต้องฝึกทักษะและมีความรู้ที่จะนำเทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้ให้การศึกษามีประสิทธิภาพ การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี เกิดขึ้นเร็วมากในช่วงระยะเวลาอันสั้น ทักษะและความรู้ด้าน ICT เปรียบเสมือนชั้นหนังสือที่จะต้องรองรับหนังสือเพิ่มขึ้นทุกวัน
บทสรุป
นักบริหารจัดการเป็นบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในด้านการติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ครูในฐานะนักบริหารจัดการในห้องเรียนเป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถในด้านการติดต่อสื่อสารและการประสานงาน
นางสาววิลาวัณย์ สุวรรณ 6220160418 เลขที่ 21