Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลัง สาธารณะ (fiscal policy) - Coggle Diagram
การคลัง
สาธารณะ (fiscal policy)
ความหมายและขอบเขตของการคลังสาธารณะ
การคลังสาธารณะ (fiscal policy)
ถือเป็นเครื่องมือสำคัญในการวางแผนควบคุมประเภทการใช้จ่ายของรัฐบาล
การก่อหนี้สาธารณะให้สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมาย
สร้างผลกระทบต่อระบบสังคมเศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศ
ขอบข่ายการคลังสาธารณะ
การคลังสาธารณะเป็นเรื่องเกี่ยวกับเงินทั้งหมดของรัฐ
ได้เงินมาจากไหน
มีเป้าหมายในการใช้จ่ายอย่างไร
วิธีการจัดการและความรับผิดชอบอย่างไร
บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจของรัฐบาล
ขอบข่ายการคลังสาธารณะ
ทำหน้าที่ด้านการคลังสาธารณะระดับชาติ
หน่วยย่อยก็เป็นรัฐหรือจังหวัด
สาธารณะสัมพันธ์กับรัฐศาสตร์ 3 ด้านหลัก ๆ
การงบประมาณ (budgeting)
การงบประมาณ (budgeting)
การตรวจสอบ (auditing)
บทบาท ประเภทของงบประมาณและ งบประมาณแผ่นดิน
บทบาทของงบประมาณ
เป็นเอกสารวางแผนหลัก ที่รัฐบาลจะทำอะไรและใช้จ่ายเท่าไหร่
เป็นเครื่องมือตัดสินใจ จัดสรรเงินที่มีอยู่อย่างจำกัดไปยังแผนงานต่าง ๆ
ตัวชี้วัดคุณค่า จะจัดลำดับความสำคัญและเปรียบเทียบแผนงาน
เป็นเกณฑ์จัดสรรเงิน
ประเภทของงบประมาณ
งบประมาณแบบแสดงรายการ
ระบบที่ใช้มายาวนาน
แสดงรายการใช้จ่ายเป็นรายการและ จำนวนเงินงบประมาณ
ควบคุมรายการใช้จ่ายตามที่ได้กำหนดไว้
ระบบงบประมาณแบบแสดงผลงาน
พัฒนามาจากระบบแสดงรายการ
แสดงแผนงานของการใช้จ่ายต่างๆ ว่าจะทำอะไร มีแผนการทำงานอย่างไร
คำนึงถึงวัตถุประสงค์ เป้าหมายการใช้จ่าย และโครงการ
ระบบงบประมาณแบบแผนงาน
เน้นความสำคัญเรื่องประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรหรืองบประมาณ
หน่วยงานจัดทำโครงสร้างแผนงาน / โครงการ แสดงค่าใช้จ่ายและผลที่ได้จากแผนงาน
การกำหนดวัตถุประสงค์ / เป้าหมายของแผนงานต่างๆ ให้ชัดเจน
งบประมาณแผ่นดิน
ระยะเวลา 1 ปี ดังนั้น จึงเรียกว่า งบประมาณแผ่นดินประจำปี ซึ่งจะเริ่มต้นในวันที่ 1 ตุลาคมของปีไปจนถึงวันที่ 30 กันยายนของปีถัดไป
งบประมาณสมดุล (Balanced budget)
งบประมาณที่รายได้ของรัฐบาลรวมกันแล้วเท่ากับรายจ่ายของรัฐบาลพอดีรัฐบาลไม่จำเป็นต้องกู้เงินมาใช้จ่ายหรือนำเงินคงคลังออกมาใช้
งบประมาณไม่สมดุล (Unbalanced budget)
งบประมาณที่รายได้ของรัฐบาลไม่เท่ากับรายจ่ายของรัฐบาล
ถ้ารายได้ของรัฐบาลสูงกว่ารายจ่ายของรัฐบาลเรียกว่า งบประมาณเกินดุล
การบริหารการคลังในอดีต
ใช้ระบบงบประมาณแบบดั้งเดิม = งบประมาณแบบแสดงรายการ
จัดสรรเงินไปตามรายการหรือรายจ่าย เช่น เงินเดือนเจ้าหน้าที่ ค่าอุปกรณ์ ค่าส่งไปรษณีย์
ข้อดี
ยืดหยุ่นจัดการง่าย
ข้อเสีย
ไม่แน่ชัด ตรวจสอบยาก
การปฏิรูปการคลังสาธารณะ
การปฏิรูประบบการคลัง ภาษี และรายจ่าย
การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ
การปฏิรูปเชิงสถาบัน
การปฏิรูปภาคราชการ
การปฏิรูปความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานระดับ
ต่างๆ ของรัฐบาล
การออกแบบและประยุกต์การจัดทำงบประมาณ ให้สามารถบริหารและติดตามประเมินผล
บรรทัดฐานทางการคลัง
มาตรการทางด้านการคลังที่ดำเนินไปโดยอิสระ
เปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการของรัฐบาล รวมถึงการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี จะถูกกำหนดขึ้นเองอัตโนมัติตามการเปลี่ยนแปลงของระดับรายได้ประชาชาติ
เป็นเครื่องมือที่ช่วยชะลอไม่ให้รายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลงเร็วเกินไป
มาตรการทางด้านการคลังที่ใช้ดุลยพินิจ
ช่วงห่างระหว่างช่องว่างของเงินฝืดและเงินเฟ้อมี
ขนาดใหญ่
รัฐบาลมาสามารถขจัดการเคลื่อนไหวที่ขึ้นลงในระยะสั้นในระบบเศรษฐกิจได้ได้โดยใช้เครื่องมือของ
มาตรการการคลังโดยอิสระ
กรณีนี้รัฐบาลจำเป็นจะต้องนำเอามาตรการการทางคลังที่ใช้ดุลยพินิจมาใช้