Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้านปัญญานิยม - Coggle Diagram
ทฤษฎีการเรียนรู้ด้านปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของ David Ausubel
ให้ความสําคัญของการเรียนรู้อย่างมีความเข้าใจ
ผู้เรียนเห็นความสัมพันธ์ของสิ่งที่เรียนรู้กับโครงสร้างพุทธิปัญญาที่ได้เก็บไว้ในความทรงจํา สามารถนําใช้ในอนาคตได้
อธิบายการเรียนรู้เชื่อมโยงความรูที่ปรากฏในหนังสือ
ใช้กับความรู้เดิมที่อยู่ในสมอง
เทคนิคให้ผู้เรียนได้เรียนอย่างมีความหมาย
การจัดเรียบเรียงข้อมูลข่าวสารเป็นหมวดหมู่
นําเสนอกรอบหลักการกว้างๆ
แบ่งบทเรียนตามหัวข้อที่สําคัญ
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ Bruner
เชื่อว่ามนษุยเ์ลือกรับรู้จากสิ่งที่ตนเองสนใจ
ทฤษฎีการเรียนรู้
2.จัดหลักสูตรและการเรียนการสอนให้เหมาะสม
3.การคิดและหาเหตุผลอย่างอิสระ
4.สร้างแรงจูงใจจากภายใน
1.การจัดโครงสร้างของความรู้ใหมาความสัมพันธ์
และสอดคล้องกับสติปัญญา
5.ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของมนษุย์ แบ่งได้ดังนี้
การเรียนรู้สัญลักษณ์และนามธรรม
การเรียนรู้จากความคิด
การเรียนรู้จากการกระทํา
6.การเรียนรู้สามารถสร้างความคิดรวบยอด
7.การให้ผู้เรียนค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ Piaget
ได้ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนา
การทางด้านความคิดของเด็ก
อธิบายว่าเด็กจะมีพัฒนาการไปตามวัยเป็นลําดับขัน
พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ
สรุป
พัฒนาการของเด็กอธิบายได้โดยลําดับระยะเวลาพัฒนา
แสดงให้ปรากฏโดยปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับสิ่งแวดล้อม
ให้ความสําคัญของการเข้าใจธรรมชาติและพัฒนาการของเด็ก
ทฤษฎีประมวลสารสนเทศของคลอสไมเออร์
เชื่อว่า การทํางานของสมองมนษุย์มี
ความคล้ายคลึงกับเครื่องคอมพิวเตอร์
ได้กล่าวว่าการแสดงพฤติกรรมหรือ
การเรียนรู้กิดจากความต้องการของผู้เรียน
เป็นผลเนื่องจากปฏิสัมพันธ์ของสิ่งเร้าที่มาจากสิ่งแวดล้อม
ขั้นตอนการทํางานของสมองมนษุย์กับ
เครื่องคอมพิวเตอรเ์ปรียบเทียบได้ดังนี้
การเข้ารหัสโดยอาศัยชุดคําสั่ง
การส่งข้อมูลโดยผ่านทางอุปกรณ์
การรับข้อมูลโดยผ่านอุปกรณ์
อธิบายกระบวนการประมวลข้อมูล
เริ่มต้นจากสิ่งที่มนุษย์รับสิ่งเร้าเข้ามาทางประสาทสัมผัสทั้ง 5
2 องค์ประกอบที่กําหนดการบันทึก
ความใส่ใจ
การรู้จัก
ทฤษฎีความรู้เกี่ยวกับ
ความคิดตัวเองของ Meta Cognative
6 มิติของการคิด
ด้านลักษณะการคิด
ด้านทักษะการคิด
ด้านเนื้อหา
ด้านคุณสมบัติ
ด้านกระบวนการคิด
ด้านการควบคุมและการประเมิน
องค์ประกอบ
2.ความสามารถในการกํากับตนเอง
1.การตระหนักรู้
ให้ความสําคัญสําหรับ
ผู้ใช้ทักษะการคิด
เพื่อใช้ในการกําหนดปัญหา
หากวิธีการแก้ปัญหาที่หลากหลาย
แบ่งได้ดังนี้
บันทึกวิธีคิด
วางแผนการเรียนด้วยตนเอง
อธิบายกระบวนการคิดของตนเอง
สรุปกระบวนการคิดหลังจากทํากิจกรรม
ระบุสิ่ที่เรารู้และไม่รู้
ประเมินผล
ทฤษฎีสนาม Field Theory ของ Kert Lewin
เชื่อว่าพฤติกรรมเป็นผลของแรงต้าน
กับแรงเสริมซึ่งมีบทบาทที่ตรงข้ามกัน
3 กลวิธีที่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
เพิ่มขนาดของแรงเสริม
เพิ่มขนาดของแรงเสริม
เพิ่มขนาดของแรงเสริมขณะเดียวกันก็ลดขนาดของเเรงต้าน
ได้เสนอแนวทางเพื่อดําเนิน
การเปลี่ยนแปลงโดยขั้นตอน ดังนี้
การวิเคราะห์ปัญหา
การตั้งเป้าหมาย
ละลายพฤติกรรมเดิม
การมีพฤติกรรมใหม่
การทําให้พฤติกรรมให้คงอยู่
สรุป
พฤติกรรมของคนมีพลังและทิศทาง
สิ่งใดที่อยู่ในความสนใจจะมีพลังเป็น +
สิ่งที่นอกเหนือจากความสนใจจะมีพลังเป็น -
ทฤษฎีเกสตัลท์
เชื่อว่าการเรียนรู้เกิดจากการจัด
ประสบการณ์ทั้งหลายแล้วพิจารณาเป็นส่วนย่อยออกไป
ทฤษฎีการประยุกต์ใช้ในการสอน
การเน้นภาพรวม
เห็นคุณค่าของบทเรียน
ประสบการณ์เดิมของผู้เรียน
ประสบการณ์เรียนรู้
ความแตกต่างทางสติปัญญา
ประวัติ
นักจิตวิทยาชาวเยอรมัน
หลักการเรียนรู้
กฎแห่งความแน่นอน
กฎแห่งความคล้ายคลึง
กฎแห่งความใกล้ชิด
กฎแหง่งการสิ้นสุด
กฎแห่งความต่อเนื่อง
กฎแห่งความสบูรณ์
การรับรู้แปลความหมาย
ตา
หู
จมูก
ลิ้น
กายสัมผัส