Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วย เตียง 6 Dx. UTI c Sepsis นศพต.นงพงา คำห่อ - Coggle Diagram
ผู้ป่วย เตียง 6
Dx. UTI c Sepsis
นศพต.นงพงา คำห่อ
พยาธิสรีรวิทยา
UTI
ปัจจัยเสี่ยง
เพศหญิง มีทางเดินปัสสาวะสั้น
โครงสร้างผิดปกติ : Ex. Ureterovesical Junction (UVJ)
การอุดกั้น
Tumor
Protatic
Hypertrophy
Calculi
ความผิดปกติของ Bladder
โรคเรื้อรัง
Gout
Diabetes Mellitius
Hypertension
Chronic Kidney Disease
เครื่องมือ/อุปกรณ์ทางการแพทย์
การสวน
การส่องกล้อง
Upper tract infection
ได้แก่ กรวยไตอักเสบ (Pyelonephritis) และ ท่อไต (Uteter) แบ่งได้เป็นแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง
อาการและอาการแสดง
มักมีอาการเช่นเดียวกับ lower tract infection รวมถึง ปวดบั้นเอว
Lower tract infection
ได้แก่ การติดเชื้อที่กระเพาะปัสสาวะ (Cystitis), : ท่อปัสสาวะ (Urithitis) และต่อมลูกหมาก (Prostatic)
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะถี่
ปวดหน่วงบริเวณท้องน้อย
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ปัสสาวะขัด
การวินิจฉัย
Urinalysis (UA)
W.B.C. หรือ pus cell หรือ pyuria พบเมื่อบ่งบอกถึงภาวะการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ โดยปกติ 0-5 cell/HPF
Cast (เศษไต) เป็นส่วนประกอบที่ผิดปกติของหลอดไต
W.B.C. cast อาจเกิดการอักเสบที่ไต
R.B.C. cast อาจเกิดการทำลายของ glomerular capillary หรือมีการฉีกขาดของผนังหลอดเลือด
Bacteria อาจพบได้บ้างเล็กน้อย (Few) ถ้าพบมากๆก็อาจบ่งบอกถึงการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ หากพบ > 10^5 / 1 มล. เป็นข้อบ่งชี้มีการอักเสบของทางเดินปัสสาวะ
การรักษา
ได้รับยาปฏิชีวนะ
Trimethoprim/Sulfamethoxazole
Amoxicilin
ยากลุ่ม Quinolones
ถ้ามีการติดเชื้อที่ไต อาจตรวจ blood culture เพื่อตรวจดูการติดเชื้อในกระแสเลือด
พยาธิสภาพของผู้ป่วย
ปัจจัยเสี่ยง
โรคประจำตัว ได้แก่ DM, HT, และ CKD stage 4
มีทางเดินปัสสาวะสั้น
การวินิจฉัย
Urine cultue พบ Escherichia coli (E.coli) 10^4 CFU/mL
Urine Gram stain พบ Gram negative Bacili
การรักษา
ได้รับยา Timazol 50 mg tab รับบประทานครั้ง 1/2 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า
ได้รับยา Meropenem 1 GM INJ 500 mg IV drip in 3 hr ทุก 12 ชั่วโมง อนุมัติ 7 วัน วันแรก 29/10/63-4/11/63 + NSS 100 ml
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะแสบขัดร่วมกับการปวดหลัง
มีไข้
อ่อนเพลีย
ข้อมูล
ข้อมูลทั่วไป
ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 81 ปี รูปร่างสมส่วน รู้สึกตัวดี สามารถพูดโต้ตอบได้ ช่วยเหลือตนเองบนเตียงได้ หายใจ Room air O2 sat 96% ทานอาหารอ่อน ลดเค็ม เบาหวาน ไม่มีคลื่นไส้อาเจียนหลังทานข้าว แขนข้างขวา on injection plug ไม่มี phlebitis ไม่มีบวมแดง ผู้ป่วยแพมเพิร์สสามารถปัสสาวะและอุจจาระได้เอง ปัสสาวะสีเหลืองใส ไม่มีตะกอน รู้สึกแสบขัดเมื่อปัสสาวะ อุจจาระเหลวเป็นสีน้ำตาลเข้ม มีผื่นแดงขึ้นบริเวณที่ใส่ผ้าอ้อม มี pitting edema +1 บริเวณขาทั้งสองข้าง ผู้ป่วยสามรถลงมานั่งข้างเตียงได้แต่ต้องได้รับความช่วยเหลือ รู้สึกเวียนศีรษะเมื่อขึ้นเตียง วันนี้ผู้ป่วยมีกระตุ้น Ambulate สามารถดูด Incentive spirometer(Triflow) ขึ้นได้ 2 ลูก จำนวน 5 ครั้ง
อาการสำคัญ
มีไข้ หนาวสั่น 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
2 วันก่อนมาโรงพยาบาล กินน้อย มีไข้ อ่อนเพลีย
1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการไข้สูง หนาวสั่น สับสน ปัสสาวะออกน้อยมีกลิ่นฉุน รับประทานยาลดไข้แล้วไม่ดีขึ้น ญาติจึงนำส่งโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
เป็นเบาหวาน ประมาณ 41 ปี
เป็นความดันโลหิตสูง ประมาณ 41 ปี
ไขมันในเลือดสูง ประมาณ 42 ปี
ไตอักเสบ ประมาณ 43 ปี
ประวัติการแพ้ยา
แพ้ยา Penicilin
ประวัติการผ่าตัด
ทำ Balloon Angioplasty ที่โรงพยาบาลตำรวจ ปี พ.ศ.2555
ประวัติการเจ็บป่วยครอบครัว
ปฏิเสธการเจ็บป่วยในครอบครัว
ยาที่ผู้ป่วยได้รับ
Quantia 25 mg tab รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน/เวลามีอาการ
Senolax รับประทานครั้งละ 2 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
Sodium bicarbonnate 300 mg tab รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารเช้า กลางวัน เย็น
ข้อบ่งชี้
รักษาภาวะที่ทำให้สูญเสีย Bicarbonates เบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ โรคไต ป้องกันการเกิดโรคนิ่วไตจากโรคเกาต์
ผลข้างเคียง
มีอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ อาจเกิดความไม่สมดุลของเกลือแร่
Januvia 100 mg tab รับประทานครั้งละ 1/4 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า
Simethicone 80 mg tab รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารเช้า กลางวัน เย็น
ข้อบ่งชี้
ใช้เพื่อลดอาการแน่นและมีลมภายในท้องลดน้อยลง ลดอาการแก๊สคั่งค้างให้กระเพาะอาหารมาก ลดอาการแน่น เฟ้อ จุกเสียด
ผลข้างเคียง
อาจะทำให้กระเพาะหลั่งน้ำย่อยเพิ่มมากขึ้น
Hepalac syrup 100 ml รับประทานครั้งละ 2 ช้อนโต๊ะ (30 cc) วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
Chlovas 40 mg tab รับประทานครั้ง 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ข้อบ่งชี้
ผลข้างเคียง
Ezetrol 10 mg tab รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วัละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า
Omeprazole 20 mg cap รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า
ข้อบ่งชี้
ใช้ลดกรดในกระเพาะอาหาร แผลในกระเพาะอาหาร รักษาภาวะการหลั่งกรดมากเกิน
ผลข้างเคียง
อาจพบอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง มีผื่นขึ้น รู้สึกไม่สบายตัว ปากแห้ง
Vitamin D2 20,000 IU cap รับประทาน 2 เม็ดต่อสัปดาห์ วันอังคาร
ข้อบ่งชี้
รักษาในภาวะ Osteodystrophy
ผลข้างเคียง
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
Paracetamol 500 mg tab รับประทานครั้ง 1 เม็ด ทุก 6 ชั่วโมง เวลาปวดหรือมีไข้
Aspirin 81 mg tab รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า
Brilinta 90 mg tab รับประทานครั้ง 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง หลังอาหารเช้า เย็น
ข้อบ่งชี้
เป็นยาต้านเกล็ดเลือด ใช้เพื่อป้องกันภาวะหัวใจขาดเลือดและภาวะสมองขาดเลือด
ผลข้างเคียง
อาจพบได้น้อย เช่น ปวดหลัง ไอ ท้องเสีย หน้าอกบวมหรือเจ็บหน้าอก บางรายอาจเกิดผลข้างเคียงที่เป็นอันตราย เช่น หายใจลำบาก แน่นหน้าอก หัวใจเต้นผิดจังหวะ ตาพร่า รู้สึกสับสน เวียนศีรษะ
Timazol 50 mg tab รับบประทานครั้ง 1/2 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า
Bisoprolol fumarate รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง หลังอาหารเช้า เย็น
ข้อบ่งชี้
ควบคุมความดันโลหิตสูง ใช้รักษาอาการเจ็บหน้าอก และโรคที่มีอาการหลอดลมหดเกร็งร่วมด้วย
ผลข้างเคียง
หัวใจเต้นช้า เต้นเร็วหรือไม่สม่ำเสมอ มึนงง อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ปัสสาวะบ่อยสีเข้ม
Manidipine 20 mg tab รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า
Meropenem 1 GM INJ 500 mg IV drip in 3 hr ทุก 12 ชั่วโมง อนุมัติ 7 วัน วันแรก 29/10/63-4/11/63 + NSS 100 ml
ข้อวินิจฉัย
ผู้เชื้อมีภาวะติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ข้อมูลสนับสนุน
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ (28/10/63)
CBC
WBC 13.55 10^3/uL
Neutrophil 83.1%
Lymphocyte 7.7%
Microscopic exam
R.B.C(UA) 2-3/HPF
W.B.C(UA) >100/HPF
Bacteria Moderate
วัตถุประสงค์
ไม่มีการติดเชื้อในร่างกายเพิ่มขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยไม่มีอาการแสดงของการติดเชื้อ เช่น มีไข้สูง หนาวสั่น
ผลตรวจ WBC, Neutrophil, Lymphocyte และ Microscopic exam อยู่ในเกณฑ์ปกติ
Vital signs อยู่ในเกณฑ์ปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการติดเชื้อ และสังเกตอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ เช่น มีไข้สูงหนาวสั่น
บันทึกผล Vital signs ทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอุณหภูมิร่างกาย
ดูแลผู้ป่วยโดยยึดหลัก Aseptic technique อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการติดเชื้อเพิ่ม
ล้างก่อนและหลังทำหัตถการหรือให้การพยาบาลกับผู้ป่วยทุกครั้ง
ทำความสะอาดปากและฟันเพื่อลดการสะสมเชื้อและให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบาย
ดูแลให้การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่ผิวหนัง
ทำความสะอาดสิ้งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วยให้สะอาดสม่ำเสมอ เช่น เปลี่ยนผ้าปูที่นอน เช็ดตียงและตู้ข้างเตียง
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการอย่างสม่ำเสมอเพื่อประเมินการติดเชื้อ เช่น CBC และ Microscopic Exam
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์ และสังเกตผลข้างเคียงของยา
ผลการประเมิน
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ (04/11/63)
CBC
Neutrophil 79.5% (สูงกว่าปกติ)
Lymphocyte 10.4% (ต่ำกว่าปกติ)
Microscopic Exam
R.B.C. (UA) 1-2/HPF
W.B.C. (UA) 2-3/HPF
Bacteria Not found
V/S (02/11/63) 14.00 น.
T 36.8 องศาเซลเซียส
BP 114/46 mmHg
P 72 ครั้ง/นาที
RR 18 ครั้ง/นาที
O2 sat 97%
Pain 0 คะแนน
ผู้ป่วยไม่มีไข้ ไม่หนาวสั่น
ญาติวิตกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของผู้ป่วยและผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
เกณฑ์การประเมิน
ญาติมีความเข้าใจและมีความรู้เกี่ยวกับภาวะของโรคและสามารถอธิบายวิธีการปฏิบัติตนให้เข้ากับสภาพของผู้ป่วยได้
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้ป่วยและญาติของผู้ป่วยด้วยความเต็มใจและเป็นกันเองเพื่อให้ญาติไว้วางใจ
ให้ผู้ป่วยและญาติได้ระบายความคับข้องใจเกี่ยวกับความวิตกกังวลในการรักษาครั้งนี้และรับฟังด้วยความตั้งใจ
สอนแนะนำญาติ ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค ภาวะเสี่ยงในการเกิดโรคแทรกซ้อน การรักษา การพยาบาลเพื่อฟื้นฟูสภาพร่างกาย ให้สามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่จะเกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจถึงโรค
ปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่อาจก่อให้เกิดโรคอันเนื่องมาจากการ
นอนนาน เช่น ช่วยเหลือตัวเองได้น้อยลง
อธิบาย ให้คำแนะนำถึงความจำเป็นเกี่ยว
กับการดูแลตนเอง เพื่อช่วยลดปัจจัยเสี่ยง การเกิดภาวะ
แทรกซ้อน เช่น การรับประทานยาต่อเนื่องตามแผนการ
รักษาของแพทย์ การผ่อนคลายความเครียด การทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเอง
ให้ญาติได้มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย เช่น การทำความสะอาดร่างกาย ดูแลความสะอาดสิ่งแวดล้อมผู้ป่วย
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยญาติได้ซักถามเพื่อลดความวิจกกังวลในใจ
ประเมินภาวะวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติโดยประเมินจากสีหน้า พฤติกรรม การเคลื่อนไหวของร่างกาย และการซักถาม
แนะนำให้ญาติมาเยี่ยมผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอเพื่อสร้างขวัญและกำลังใจในการรักษาและสามารถเผชิญปัญหาได้อย่างเหมาะสม
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยและญาติเข้าใจเกี่ยวกับรักษาของโรคและดูแลตนเอง
ญาติวิตกังวลลดลง
ผลการประเมิน
ข้อมูลสนับสนุน
ญาติมีสีหน้าวิตกกังวลเมื่อผู้ถึงการเจ็บป่วยของผู้ป่วย
ญาติบอกว่ากลัวผู้ป่วยจะกลับไปช่วยเหลือตัวเองได้น้อยลงเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยบอกว่ากังวลเรื่องการรักษาว่าจะไม่หาย
ผู้ป่วยอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการช่วยเหลือตัวเองได้น้อยลง (พลัดตกหกล้ม, ข้อยึดติด,พร่องออกซิเจน)
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยไม่เกิดผื่นเพิ่มขึ้นในร่างกาย ผิวหนังชุ่มชื้น
Fall score ลดลง < 1
ผู้ไม่เกิดข้อยึดติด สามารถเคลื่อนไหวแขนและขาได้ปกติ
ผู้ป่วยสามารถทำกิจกรรมได้ด้วยตนเอง และบ่นรู้สึกเหนื่อยน้อยลง
กิจกรรมการพยาบาล
ดึงไม้กั้นเตียงขึ้นทุกครั้งหลังทำหัตถการกับผู้ป่วยเสร็จ ไม่ปล่อยให้ผู้ป่วยอยู่ตามลำพังในม่านเมื่อทำหัตถการ พยาบาลต้องอยู่ใกล้ๆเพื่อจะได้ช่วยได้ทันที
แนะนำให้ผู้ป่วยพลิกตะแคงข้างด้วยตนเองทุก 2 ชั่วโมง เพื่อไม่ให้ผิวหนังถูกการกดทับเป็นเวลานาน
ประเมินดูสภาพผิวหนังของผู้ป่วย สังเกตอาการแดง ดูความชุ่มชื้นของผิวหนัง
สอนให้ญาตินวดหลังและผิวหนังบริเวณปุ่มกระดูกเพื่อกระตุ้นให้เลือดไหลเวียนได้ดี และทาโลชั่นเพื่อให้ผิวหนังชุ่มชื้น
ประเมินความสามารถในการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย หาปัญหาในการเคลื่อนไหวร่างกาย
ดูแลผ้าปูที่นอนของผู้ป่วยให้เรียบตึงอยู่เสมอ หากมีการเปื้อนสารคัดหลั่งให้เปลี่ยนผ้าปูที่นอนทันที
ดูแลการขับถ่ายของผู้ป่วย หากผู้ป่วยปัสสาวะหรืออุจจาระให้เปลี่ยนผ้าอ้อมทันทีเพื่อไม่ให้เกิดการอับชื้นในบริเวณที่ใส่ผ้าอ้อม
กระตุ้นให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย
กระตุ้นให้ผู้ป่วยมีการบริหารปอดอย่างสม่ำเสมอ เช่น ลุกขึ้นนั่งหรือเดินเมื่อกิจกรรมต่างๆ หรือดูด Spirometer(Triflow) วันละ 5-10 ครั้ง ควรจะดูดให้ได้ปริมาตร 1,200 ml (3 ลูก)
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น พลัดตกหกล้ม ข้อยึดติด พร่องออกซิเจน
ผลการประเมิน
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองได้น้อยลง
ผู้ป่วยมีผื่นแดงบริเวณที่ใส่ผ้าอ้อม
Fall score = 4 คะแนน
ผู้ป่วยบ่นปวดบริเวณเข่าข้างซ้าย
ญาติบอกว่าเมื่อผู้ป่วยเมื่ออยู่บ้านแล้วจะนอนตลอดเวลา ไม่ค่อยลุกขึ้นนั่งหรือเดิน
ผู้ป่วยบ่นรู้สึกเหนื่อยเมื่อทำกิจกรรม เช่น ลุกขึ้นยืน แปรงฟัน
วางแผนจำหน่ายผู้ป่วยตามแบบแผน D-METHOD
T
Treatment การรักษาตามแผนการรักษา รวมไปถึงการสังเกตอาการของตนเอง
อธิบายให้ญาติและผู้ป่วยเห็นถึงความสำคัญของการนัดพบแพทย์ สังเกตอาการผิดปกติและนำมาบอกแพทย์ทุกครั้งเมื่อพบแพทย์
หากมีอาการผิดปกติบ่อยครั้งหรืออาการไม่ดีขึ้นก็สามารถมาพบแพทย์ก่อนกำหนดได้
H
Health ส่งเสริมและฟื้นฟูด้านร่างกายและจิตใจ และป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
ส่งเสริมด้านหายใจให้มีประสิทธิภาพ
กระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกขึ้นนั่งหรือเดินเมื่อทำกิจกรรมต่างๆ
ให้ผู้ป่วยบริหารการทำงานของปอดด้วยการดูด Spirometer(Triflow) วันละ 5-10 ครั้ง ควรจะดูดขึ้นให้ได้ปริมาตร 1,200 ml (3 ลูก)
ส่งเสริมด้านเคลื่อนไหวร่างกาย
กระตุ้นให้ผู้ป่วยออกกำลังกายแบบ Active-assistive exercise โดยมีญาติให้ความช่วยเหลือในการออกกำลังกาย
แนะนำให้ผู้ป่วยหรือญาตินวดหลังหรือผิวหนังบริเวณปุ่มกระดูกเพื่อกระตุ้นให้เลือดไหลเวียนดี
E
Environment/Economic การจัดการสภาพแวดล้อมที่บ้านให้เหมาะสมและการจัดการปัญหาด้านเศรษฐกิจ
รักษาความสะอาดสิ่งแวดล้อมภายในบ้านให้ปลอดโปร่ง ไม่อับชื้น จัดวางของใช้ภายในบ้านให้เป็นระเบียบ หยิบใช้ได้ง่าย เพื่อป้องกันอุบัติเหตุเมื่อจะหยิบของ แนะนำให้ญาติจัดที่นอนให้ผู้ป่วยนอนบนเบาะบนพื้นเพื่อที่ผู้ป่วยจะลุกขึ้นได้ง่ายและป้องกันการพลัดตกจากเตียง
การจัดการใช้สิทธิ์และประกันสุขภาพอย่างต่อเนื่อง การช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจจากครอบครัว
O
Out patient มาตรวจตามนัด การติดต่อขอความช่วยเหลือจากสถานพยาบาลใกล้บ้าน
อธิบายให้ญาติและผู้ป่วยเห็นถึงความสำคัญของการนัดพบแพทย์ สังเกตอาการผิดปกติและนำมาบอกแพทย์ทุกครั้งเมื่อพบแพทย์
แนะนำให้ญาติจัดหาสถานบริการสุขภาพใกล้บ้านไว้สำรองเมื่อเกิดกรณีฉุกเฉินกับผู้ป่วย เพื่อให้การรักษาก่อนที่จะนำส่งโรงพยาบาลศูนย์
M
Medicine แนะนำยาที่ได้รับกลับบ้าน แนะนำสรรพคุณ ขนาด วิธีใช้ ข้อควรระวังในการใช้ยา และผลข้างเคียงจากการ
ยาที่ผู้ป่วยได้รับกลับบ้าน
รับประทานยาตามแพทย์สั่งอย่างสม่ำเสมอ ไม่ขาดยา หรือรับประทานยาอื่นนอกเหนือจากที่แพทย์สั่ง
เก็บยาให้อยู่ในพื้นที่ที่สะอาด เช่น ซองใส่ยา กล่องเก็บยา และเก็บในอุณหภูมิที่เหมาะสม สังเกตสีของยาและวันหมดอายุสม่ำเสมอ
D
Diet เลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับโรคและหลีกเลี่ยงอาหารที่อันตรายต่อสุขภาพ
แนะนำการทานอาหารให้เหมาะสมกับโรคของผู้ป่วย คือ อาหารเหมาะสมกับโรคเบาหวาน เป็นอาหารรสอ่อน ลดเค็ม ลดหวาน ไม่มีไขมันสูง หลีกเลี่ยงการดื่มชา กาแฟ แอลกอฮอล์ และเครื่องดื่มชูกำลัง
รับประทานอาหารที่ปรุงสุก ผักและผลไม้ที่ทานควรล้างให้สะอาดทุกครั้งเพื่อป้องกันไม่ให้เชื้อที่เป็นสาเหตุของการติดเชื้อกลับเข้าสู่ร่างกายอีกครั้ง
ดื่มน้ำเปล่าสะอาดจำนวน 6-8 แก้วต่อวันหรือให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
D
Diagnosis ให้ความรู้เรื่องโรคที่เป็นอยู่ถึงสาเหตุ อาการ และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
สาเหตุมักจะเกิดในเพศหญิงมากกว่าเพศชายเนื่องจากทางปัสสาวะของเพศหญิงนั้นสั้นกว่า อาจเกิดจากการดื่มน้ำน้อยหรือกลั้นปัสสาวะบ่อยๆ นอกจากนี้การที่ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวเป็นโรคเบาหวานและสูงอายุก็เป็นสาเหตุของการเกิดโรคได้เช่นกัน
อาการเมื่อเกิดการติดเชื้อได้แก่ ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะสีขุ่น มีไข้สูง เบื่ออาหาร ปวดหลัง ปวดบริเวณสีข้าง
ดูแลรักษาความสะอาดสิ่งแวดล้อมภายในบ้านในปลอดโปร่ง ไม่ให้อับชื้น จัดวางของใช้ภายในบ้านให้เป็นระเบียบ หยิบใช้ได้ง่าย เพื่อป้องกันอุบัติเหตุเมื่อจะหยิบของ
ดูแลสุขอนามัยของตนเอง เน้นการทำความสะอาดบริเวณอวัยวะเพศเมื่อขับถ่ายเสร็จ ไม่เช็ดย้อนจากด้านหลังมาด้านหน้า ซับให้แห้ง ไม่ใส่เสื้อผ้าที่เปื้อนปัสสาวะหรืออุจจาระแล้ว ดูแลไม่ให้เสื้อผ้าอับชื้น
แนะนำไม่ให้ผู้ป่วยกลั้นปัสสาวะเมื่อรู้สึกปวด และปัสสาวะให้สุด
ให้ผู้ป่วยล้างมือให้สะอาดทุกครั้งก่อนและหลังรับประทานอาหาร เช่น น้ำสบู่ แอลกอฮอล์เจล
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
02/11/63
CBC
WBC
10.80 10^3/uL (สูงกว่าปกติ)
Neutrophil
79.5% (สูงกว่าปกติ)
RBC
3.27 10^6/uL (ต่ำกว่าปกติ)
Lymphocyte
10.4% (ต่ำกว่าปกติ)
Hematocrit (Hct)
29.2% (ต่ำกว่าปกติ)
Platelet count
541 10^3/uL (สูงกว่าปกติ)
Hemoglobin (Hb)
9.5 g/dL (ต่ำกว่าปกติ)
เคมีคลินิก
BUN
39.7 mg/dL ไตสูญเสียหน้าที่การทำงาน ขับทิ้งยูเรียออกทางปัสสาวะไม่ได้หรือไม่หมด จนทำให้ยูเรียคั่งค้างอยู่ในเลือด มีระดับสูงขึ้น
Creatinine
3.39 mg/dL ไตสูญเสียหน้าที่ในการทำงาน
CO2
21.4 mmol/L อาจเกิดจากการใส่ท่อปัสสาวะตลอดเวลาทำให้คาร์บอนเนตสูญเสียไปกับน้ำปัสสาวะผิดปกติ
eGFR
12.1 mL/min ไตสูญเสียหน้าที่ในการทำงาน อาจเกิดภาวะขาดน้ำ
Chemical Exam
Albumin
1+
Leucocyte
2+
Blood
1+
Microscopic Exam
R.B.C. (UA)
1-2/HPF
W.B.C. (UA)
2-3/HPF
28/10/63
CBC
WBC
13.55 10^3/uL (สูงกว่าปกติ)
Neutrophil
83.1% (สูงกว่าปกติ)
RBC
3.16 10^6/uL (ต่ำกว่าปกติ)
Lymphocyte
7.7% (ต่ำกว่าปกติ)
Hematocrit (Hct)
31.9% (ต่ำกว่าปกติ)
Platelet count
472 10^3/uL (สูงกว่าปกติ)
Hemoglobin (Hb)
10.4 g/dL (ต่ำกว่าปกติ)
เคมีคลินิก
BUN
38.0 mg/dL
Creatinine
3.48 mg/dL
CO2
17.1 mmol/L
eGFR
11.73 mL/min
Na
134 mmol/L
Ca
7.9 mg/dL
Chemical Exam
Albumin
4+
Leucocyte
3+
Blood
3+
Microscopic Exam
R.B.C (UA)
10-20/HPF
W.B.C. (UA)
100/HPF
Epithelial cell
3-5/HPF
Cast
Found
Bacteria
Moderate
Granular cast
2-3/LPF
DTX
03/11/63
เวลา 11.00 น. ได้ 109 mg%
เวลา 15.00 น. ได้ 201 mg% ได้รับ Humulin
03/11/62
เคมีคลินิก
BUN
33.2 mg/dL (สูงกว่าปกติ) ไตสูญเสียหน้าที่การทำงาน ขับทิ้งยูเรียออกทางปัสสาวะไม่ได้หรือไม่หมด จนทำให้ยูเรียคั่งค้างอยู่ในเลือด มีระดับสูงขึ้น
Creatinine
2.96 mg/dL (สูงกว่าปกติ) ไตสูญเสียหน้าที่ในการทำงาน
CO2
21.1 mmol/L (ต่ำกว่าปกติ) อาจเกิดจากการใส่ท่อปัสสาวะตลอดเวลาทำให้คาร์บอนเนตสูญเสียไปกับน้ำปัสสาวะผิดปกติ
eGFR
14.26 mL/min (สูงกว่าปกติ) ไตสูญเสียหน้าที่ในการทำงาน อาจเกิดภาวะขาดน้ำ
สรุปปัญหาทางการพยาบาล
รู้สึกเหนื่อยเมื่อทำกิจกรรม
มีแผลแดงที่บริเวณมุมปาก
มีผื่นแดงบริเวณที่ใส่ผ้าอ้อม
ช่วยเหลือตัวเองได้น้อยลง
ปวดเข่าข้างซ้าย
ญาติวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วย