Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงหน้าที่การเจริญและพัฒนาการ การปรับตัวและการบาดเจ็บขอ…
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงหน้าที่การเจริญและพัฒนาการ การปรับตัวและการบาดเจ็บของเซลล์
การเจริญของเซลล์
เซลล์สืบพันธุ์ (Gametes cells)
โครโมโซมเพียง 1 ชุด จากเซลล์แม่
เซลล์ร่างกาย (Somatic cells)
โครโมโซม 2 ชุด จากเซลล์ต้นกําเนิด
กระบวนการเจริญของเซลล์
Proliferation (การแพร่ขยายหรือเพิ่มจํานวนเซลล์) เซลล์แบ่งตัว เพื่อชดเชยหรือทดแทนเซลล์ที่ตายหรือไม่สามารถทํางานได้
เซลล์ที่พัฒนาการสมบูรณ์ (Well-differentiated cells) ซึ่งเป็นเซลล์ที่ไม่สามารถพัฒนาการต่อได้อีก
เซลล์ต้นแบบ (Progenitor or parent cells) เป็นเซลล์ที่มีการแบ่งตัว สร้างเซลล์ใหม่อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา
เซลล์ผู้ช่วย (Undifferentiated stem cells) เป็นเซลล์ที่ยังไม่มีการพัฒนาไปทําหน้าที่จําเพาะ
Differentiation (การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาเซลล์ เพื่อไปทําหน้าที่ต่างๆ)
Apoptosis (การตายของเซลล์) เป็นกระบวนการกําจัดเซลล์ที่
ร่างกายไม่ต้องการ โดยร่างกายเป็นตัวกําหนดโปรแกรมการทําลายเอง
วงจรเซลล์ (Cellcycle)
ระยะสลบ G0phase เป็นระยะพักของเซลล์ที่ออกจากวงจรการแบ่งตัว เซลล์เหล่านี้สามารถกลับเข้าสู่วงจรอีกครั้งถ้าเสียเลือด หรือได้รับบาดเจ็บ
ระยะอินเตอร์เฟส (Interphase) เป็นระยะเตรียมสารอาหารก่อนเข้าสู่วงจรการแบ่งตัว
ระยะ G1 เป็นระยะก่อนสร้าง DNA เซลล์จะสร้าง RNAและโปรตีน
ระยะ S (Synthesis) ใช้เวลานานที่สุด มีการสังเคราะห์ คัดลอก DNA ในระยะนี้โครโมโซมจะเพิ่ม2เท่า
ระยะ G2 ระยะหลังสร้าง DNA เซลล์มีการเจริญเติบโตและเตรียมพร้อมแบ่งโครโมโซมและไซโทพลาสซึม
ระยะแบ่งตัว (Mitoticphase, M phase) ระยะที่เซลล์มีการแบ่งตัว เพื่อให้ได้เซลล์ลูกอย่างสมบูรณ์ โดยมีการแบ่งนิวเคลียสและไซโตรพลาซึม
ความผิดปกติของการ
ทําหน้าที่ของเซลล์
การปรับตัวของเซลล์
Atrophy เป็นการปรับขนาดเซลล์ให้เล็กลง เนื่องจากทําหน้าที่ลดลง เช่น ใส่เฝือก ทําให้กล้ามเนื้อส่วนนั้นลีบเล็กลง
Hypertrophy ปรับตัวของเซลล์ โดยการเพิ่มขนาดเซลล์ เพื่อตอบสนองต่อการทํางานของเซลล์ที่ต้องทํางานเพิ่มมากขึ้น เช่น นักเพาะกาย
Hyperplasia ปรับตัวของเซลล์ โดยการเพิ่มจํานวนเซลล์ จนเกิดการขยายขนาดของเนื้อเยื่อ เช่น การเพิ่มปริมาณของเซลล์ของต่อมไทรอยด์
Metaplasia ปรับตัว โดยการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์ เช่น เยื่อบุกระเพาะปัสสาวะที่มีการอักเสบ
Dysplasia เจริญเติบโตที่ผิดปกติ เช่น มะเร็ง
การบาดเจ็บของเซลล์
สาเหตุ
Hypoxia
Infectious agents
Immunological reactions
Physical factors
Chemical agents
Nutritional imbalances
Free radicals)
Genetic factors
กลไกภายในเซลล์เมื่อได้รับบาดเจ็บ
Mechanical disruption เซลล์ได้รับอันตราย เกิดการแยกของเยื้อหุ้มเซลล์ ทําให้ไซโตพลาสซึมแตกออกมาจากเยื่อหุ้ม ส่งผลให้เซลล์ไม่สามารถกลับเข้าสู่สภาพเดิมได้อีก
Failure of membrane integrity เซลล์ขาดความสามารถในการรักษาสภาพ
Complement-mediated cytolysis เกิด Complement activation
Perforin-mediated cytolysis สาร Perforin สร้างเมื่อเกิดการติดเชื้อไวรัส
Specific-blockage of ion channels อุดกั้นทางผ่านเข้าออกของอิออน
Failure of membrane ion pumps ระดับ ATP ไม่เพียงพอ Na+และ K+เข้าออกจากเซลล์ เกิดเซลล์บวมน้้ำ และแตกในที่สุด
Alteration of membrane lipids แล ะ Cross-linking of membrane proteins พบว่า Free radicals สามารถทําลายไขมันและโปรตีน
Blockage of metabolicpathways
Cellular respiration เซลล์ขาดออกซิเจน
การสังเคราะห์โปรตีน (Protein synthesis)
DNA damage or loss การได้รับอันตรายจากรังสี
Deficiency of essential metabolitesก
Oxygen deprivation
Glucose deprivation
Hormone deficiency
Free radicals
Hypoxic cell injury
Impaired calcium homeostasis
ลักษณะเซลล์เมื่อได้รับบาดเจ็บ
ภายในเซลล์
เซลล์บวม การเสียหน้าที่ของ Na+/K+ATPase ทําให้มีปริมาณ Na+ ภายในเซลล์เพิ่มขึ้น เพิ่มแรงดันออสโมติก ทําให้มีการดึงน้ําเข้าสู่เซลล์
การเปลี่ยนแปลงของไขมัน ความผิดปกติของเอนไซม์ที่ทําหน้าที่ในกระบวนการเมตาโบลิซึมของไขมัน ทําให้มีการรวมกันของไขมันภายในเซลล์
การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย (systemic manifestation)
ไข้
หัวใจเต้นเร็ว
ปวด
เม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น
การตายของเซลล์
การเหนี่ยวนําให้เกิดการตายของเซลล์ (Apoptosis) ถ้าขาดทําให้เกิดก้อนทูม ติดเชื้อไวรัส Hepatitis B, C นอกจากนี้การเพิ่มApoptosis ยังพบใน Alzheimer’s diseaseและParkinson’s disease
การตายของเซลล์แบบ Necrosis
Coagulativenecrosis เซลล์ขาดออกซิเจนหรือขาดเลือดไปเลี้ยงมักเกิดกับอวัยวะที่ไม่มีโพรง เช่น ตับ ไต หัวใจ ม้าม
Liquefactive necrosis เป็นเนื้อตายที่เกิดจากการย่อยสลายเซลล์ที่ตาย
Caseous necrosis เนื้อตายเป็นก้อนไขมัน เกิดจากImmune mechanisms ที่ตอบสนองต่อการติดเชื้อ Mycobacterium
Fat necrosis การตายของเนื้อเยื่อไขมัน พบในโรคตับอ่อนอักเสบ
Gangrenous necrosis
Dry gangrene การอุดกั้นของหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก ลักษณะเหี่ยว แห้ง ย่น มีสีน้ำตาลเข้มหรือดํา เกิดกับอวัยวะส่วนปลายของร่างกาย เช่นนิ้วเท้า
Moist or wetgangrene ลักษณะ เย็นบวมคลําชีพจรไม่ได้บริเวณผิวมีตุ่มน้ำ มีกลิ่นเหม็น
Gas Gangrene เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียชนิด Clostridium perfringens เป็นเชื้อโรคไม่ต้องการออกซิเจน
เนื้องอก
ชนิด
Benign neoplasms ลักษณะเป็นก้อนหรือแคปซูล เจริญช้า ไม่เจริญลุกลามไปเซลล์ข้างเคียง แต่จะมีขนาดโตขึ้น
Malignant neoplasms เจริญและแพร่กระจายไปยังเซลล์ใกล้เคียง อย่างรวดเร็ว
การเรียกชื่อชนิดของเนื้องอก
Benign tumor จะลงท้ายด้วย-oma
Malignant tumors จะลงท้ายด้วย -carcinoma หรือ -sarcoma หรือขึ้นต้นด้วยคําว่า Malignant
Cancer
สาเหตุ
ระคายเคืองต่อเยื่อบุอวัยวะนั้นๆเป็นเวลานาน
เช่น มะเร็งช่องปาก
สารเคมี (Carcinogen) ชนิดหนึ่ง ได้แก่ สารน้ำมันดิน (Tar) และสารกลุ่มไนโตรซามีน (Nitrosamine)
การได้รับรังสีในปริมาณที่สูงจะทําให้ภูมิต้านทานร่างกายลดลง เนื่องจากเม็ดเลือดขาวลดลง
เชื้อไวรัส Herpes simplex, Hepatitis B
พยาธิใบไม้ในตับ
กรรมพันธุ์
อันตรายและผลกระทบ
กดเบียดอวัยวะข้างเคียง
เกิดเนื้องอกอันใหม่ขึ้น
ผนังหลอดเลือดถูกทําลาย
เกิดการอุดตัน
กระตุ้นการหลั่งฮอร์โมน
วิตกกังวลและความเจ็บปวด
การแบ่งระยะ
ระยะที่ 0 ไม่มีการแพร่กระจาย
ระยะที่ 1ก้อนมีขนาดเล็ก ไม่ลุกลาม
ระยะที่ 2 ก้อนมีขนาดใหญ่ขึ้น เริ่มลุกลามภายในเนื้อเยื่อ
ระยะที่ 3 ก้อนมีขนาดใหญ่ขึ้น เริ่มลุกลามเข้าต่อมน้ําเหลือง
ระยะที่ 4 ก้อนขนาดโตมาก มีการลุกลามไปอวัยวะใกล้เคียง สามารถคลําได้