Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 14 ทักษะการสื่อสารสำหรับครู - Coggle Diagram
บทที่ 14
ทักษะการสื่อสารสำหรับครู
ความเข้มแข็ง
Constructive
Assertiveness
นิยาม
เป็นแนวทางควบคุมพฤติกรรมก้าวร้าว
ของผู้เรียนต่อผู้เรียน ครูต้องเอาจริง
เอาจังกับการสอนและการเคารพสิทธิ์
องค์ประกอบ
1.การชี้ให้เห็นปัญหา
ชี้พฤติกรรมที่กำลังเกิดขึ้น
บอกผลกระทบของพฤติกรรม
ข้อสังเกต
ครูต้องไม่ดุด่าให้นักเรียนเสียหาย
คำว่ากล่าวต้องไม่เป็นคำถาม
2. ภาษาท่าทาง
ดูตาผู้เรียน
การเข้าใกล้ให้ผู้เรียนเห็นว่าเอาจริง
แสดงสีหน้าให้เหมาะสมกับน้ำเสียง
3. การให้ได้มาซึ่ง
พฤติกรรมที่เหมาะสม
ครูต้องยืนกรานให้นักเรียนมีพฤติกรรมที่เหมาะสม
ครูต้องไม่หลงประเด็น และไม่ปล่อยให้ยืดเยื้อ
ต้องถือว่าพฤติกรรมที่ไม่ดี เป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้
ความเห็นอกเห็นใจ
Emphatic
Responding
ทักษะการฟัง
นิยาม
การยอมรับการแสดงออกทาง
อารมณ์หรือความคิดของผู้เรียน
การแสดงออกถึงความสนใจ
ทำให้ผู้เรียนพูดต่อได้
การพยักหน้าจ้องตาและภาษาท่าทาง
การใช้เสียง เช่น อ๋อ น่าสนใจ เล่าต่อสิ
ทักษะกระบวนการ
อาศัยความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูล
หรือข้อความที่ครูได้รับจากผู้เรียน
การนำเสนอความช่วยเหลือแนะนำแก่ผู้เรียน
ช่วยให้ผู้เรียนรู้วิธีแก้ปัญหาและช่วยระงับอารมณ์
พฤติกรรมที่ครูพึงมี
หลีกเลี่ยงการโต้แย้ง
และยอมรับปัญหา
การรับฟังอย่าง
เห็นอกเห็นใจ
การแก้ปัญหา
Problem Solving
ขั้นที่ 1
ชี้ปัญหา
ครูบอกวัตถุประสงค์การพูดคุยและให้ผู้เรียนเล่าปัญหา
ครูแจ้งปัญหาให้ผู้เรียนทราบแล้วแสดงความเห็น
ครูบอกพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมแต่ไม่ประณาม
ขั้นที่ 2
เลือกแนวทาง
แก้ปัญหา
ครูเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเสนอแนวทางแก้ปัญหา
ครูเสนอแนวทางแก้ปัญหาพร้อมสังเกตผู้เรียน
ตรวจสอบความเป็นไปได้ในการแก้ปัญหา
ครูตอบสนองโดยการยอมรับ
ขั้นที่ 3
การตกลง
ในข้อผูกมัด
ครูให้ผู้เรียนยอมรับแนวทางการแก้ปัญหา
และปฏิบัติในระยะเวลาที่กำหนด
ต้องมีการประเมินการปฏิบัติตามข้อตกลง
การทำเป็นสัญญาลายลักษณ์อักษร
หากการแก้ปัญหาล้มเหลว ครูต้องประเมิน
ความเข้มแข็งและความเห็นอกเห็นใจ