Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 ลักษณะแบบทดสอบที่ดี, นางสาวเบญจมาภรณ์ สินตุ้น รหัส 6346702049 …
บทที่ 5 ลักษณะแบบทดสอบที่ดี
คุณภาพของเครื่องมือที่ใช้วัดผล
ความเที่ยงตรง
หมายถึงความสามารถของเครื่องมือที่วัดได้ตรง วัดได้ครอบคลุม วัดได้ถูกต้อง
ความตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์
ความตรงตามสภาพ
ความตรงเชิงพยากรณ์
ความตรงเชิงพยากรณ์
ความตรงเชิงเนื้อหา
ความเชื่อมั่น
หมายถึง ความสามารถของเครื่องมือในการให้ผลการวัดผู้เรียนกลุ่มเดียวกันคงที่แน่นอน หรือความคงเส้นคงวาของผลการวัดหลายๆครั้ง
ความยากง่าย
หมายถึงสัดส่วนระหว่างจำนวนผู้ตอบข้อสอบข้อนั้นถูกต่อจำนวนผู้ที่ตอบข้อสอบนั้นทั้งหมด ค่าความยากง่ายเป็นค่าที่บอกให้ทราบว่าคำถามข้อนั้นง่ายหรือยาก
อำนาจจำแนก
หมายถึงความสามารถของเครื่องมือในการจำแนกบุคคลออกเป็นกลุ่มได้
ความเป็นปรนัย
หมายถึงความชัดเจน ถูกต้องตามหลักวิชาและความเข้าใจตรงกันทั้งคำชี้แจงหรือข้อคำถาม
ความมีประสิทธิภาพ
หมายถึงเครื่องมือนั้นต้องถามให้ครอบคลุมเรื่องราวที่ต้องการวัดเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ต้องการ โดยลงทุนน้อยที่สุดแต่ให้ผลคุ้มค่าและมีคุณภาพมากที่สุด
ความยุติธรรม
หมายถึงแบบทดสอบที่ดีมีความยุติธรรมต้องถามในเรื่องที่ได้เรียนรู้มาแล้ว
ความลึก
หมายถึงควรถามให้ครอบคลุมพฤติกรรมการเรียนรู้พุทธิพิสัยทั้ง 6 ขั้น
คำถามยั่วยุ
หมายถึงลักษณะของคำถามที่ยั่วยุให้ผู้เรียนอยากตอบ ไม่ซ้ำซากจำเจน่าเบื่อหน่าย
ความจำเพาะเจาะจง
หมายถึงผู้ตอบข้อสอบได้ต้องมีความรู้โดยศึกษาเล่าเรียนมาก่อน และคำถามที่ดีไม่คลุมเครือและกว้างเกินไป
การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ
การวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบรายข้อ
การวิเคราะห์คุณภาพรายข้อของแบบทดสอบอิงกลุ่ม
การวิเคราะห์คุณภาพรายข้อของแบบทดสอบอิงเกณฑ์
ความยากง่ายของข้อสอบ
อำนาจจำแนก
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบทั้งฉบับ
การตรวจสอบความตรง
การตรวจสอบความตรงของแบบทดสอบอิงกลุ่ม
การตรวจสอบความตรงของแบบทดสอบอิงเกณฑ์
การตรวจสอบความเที่ยง
การตรวจสอบความเที่ยงของแบบทดสอบอิงกลุ่ม
การตรวจสอบความเที่ยงของแบบทดสอบอิงเกณฑ์
นางสาวเบญจมาภรณ์ สินตุ้น
รหัส 6346702049 เลขที่ 19
ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู 02