Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 12 (ห้องผ่าตัด), (กรณีโรงพยาบาลรัฐ), (กรณีโรงพยาบาลเอกชน) -…
กรณีศึกษาที่ 12 (ห้องผ่าตัด)
กฎหมายอาญาที่สามารถแจ้งต่อพยาบาล
การกระทำผิด
ความประมาท
มาตรา 300
ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส
โทษ
จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 390
ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่ร่างกาย หรือจิตใจ
โทษ
จำคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับไม่เกิน 1,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
อ้างอิง
ชื่นมนัส จาดยางโท. 2562. จริยธรรมวิชาชีพและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไป สืบค้น 31 ตุลาคม 2563. จาก
http://www.bcnb.ac.th/bcnb/uploads/documents/wg4/20190306_153315_118_3761.pdf
พยาบาลประมาท โดยที่พยาบาลไม่ได้นับเครื่องมือทั้งขณะเปลี่ยนเวรพยาบาลเวรเช้ากับ พยาบาลเวรบ่าย และหลังจากผ่าตัดเสร็จ
พยาบาลทำตามมาตรฐานหรือไม่
ไม่ตามมาตรฐาน เนื่องจากพยาบาลไม่ได้มีการตรวจนับเครื่องมือขณะเปลี่ยนเวรและหลังผ่าตัด
การเรียกร้องค่าเสียหายอะไรได้บ้าง
ค่าสินไหมทดแทน
เสียหายแก่ร่างกายหรืออนามัย
ค่าขาดประโยชน์ทำมาหาได้
ค่าใช้จ่ายจำเป็น
ค่ารักษาพยาบาล
ค่าพาหนะไปกลับโรงพยาบาล
มาตรา 420
ผู้ใจจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่น โดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธฺอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
อ้างอิง
จิตรา เพียรล้ำเลิศ. ม.ป.ป. หน่วยที่8 ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด. สืบค้น 31 ตุลาคม 2563. จาก
https://www.stou.ac.th/Schools/Slw/upload/Ex.40701-8.pdf
ผู้ใดเป็นคนจ่ายค่าสินไหมทดแทน
ผู้ป่วยหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยจะดำเนินการฟ้องร้องกับแพทย์พยาบาลทางละเมิดตามมาตรา
420
มาตรา 425
นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งละเมิด ซึ่งลูกจ้างได้กระทำไปในทางการที่จ้างนั้น
ผู้ป่วยหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยจะดำเนินการฟ้องร้องโรงพยาบาลเอกชนในฐานะที่เป็นนายจ้างตามมาตรา
425
โรงพยาบาลจะเป็นผู้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
มาตรา 426
นายจ้างซึ่งได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่บุคคลภายนอกเพื่อละเมิดอันลูกจ้างได้ทำนั้นชอบที่จะได้ชดใช้จากลูกจ้างนั้น
หากพิจารณาได้ว่าแพทย์พยาบาลดังกล่าวได้กระทำการรักษาโดยเกิดจาก ความผิดพลาดหรือกระทำโดยประมาทในการรักษาโรงพยาบาลเอกชนก็ดำเนินการใช้สิทธิเบี้ยกับแพทย์พยาบาลที่ทำการรักษาผู้ป่วยได้
อ้างอิง
เอกฤทธิ์ กองนักวงษ์. มปป. ความรับผิดทางละเมิดของแพทย์อันเนื่องมาจากการบำบัดรักษาผู้ป่วยผิดพลาด. สืบค้น29 ตุลาคม 2563. จาก
http://law.master.kbu.ac.th/StudentTheses/2558/2558-006.pdf
สถานการณ์
ใคร
พยาบาลเวรเช้าและพยาบาลเวรบ่าย
ทำอะไร
ผ่าตัดผู้ป่วยม้ามแตกแต่ลืมเครื่องมือไว้ในท้อง
ที่ไหน
โรงพยาบาล/ห้องผ่าตัด
เมื่อไหร่
ผ่าตัดเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2538 เวลา15.45 น.-17.00 น
ผ่าตัดนำเครื่องมือออกมาในวันที่ 25มิถุนายน 2540
อย่างไร
ผ่าตัดผู้ป่วยม้ามแตก
พยาบาลเวรเช้าไม่ได้นับเครื่องมือขณะเปลี่ยนเวร
มีเครื่องมืออยู่ในช่องท้องผู้ป่วย
เมื่อผ่าตัดนำเอาเครื่องมือออกมาพบ Curved Artery Clamp
เวรบ่ายไม่ได้นับเครื่องมือหลังผ่าตัด
การผิดวินัยข้าราชการหรือไม่
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน 2551
มาตรา 83
ข้าราชการพลเรือนสามัญต้องไม่กระทำ การใดอันเป็นข้อห้าม ดังต่อไปนี้
(4) ต้องไม่ประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการ
อ้างอิง
เยาวมาลย์ พัชรภิญโญพงศ์. ม.ป.ป. วินัยข้าราชการพลเรือน “ข้อกำหนดวินัย”. สืบค้น 29 ตุลาคม 2563. จาก
http://www.bangkok.go.th/upload/user/00000089/KM/6_KM/4_pokkong/5.pdf
โทษทางวินัยมี 5 สถาน
โทษวินัยอย่างไม่ร้ายแรง
(๑) ภาคทัณฑ์
(๒) ตัดเงินเดือน
(๓) ลดเงินเดือน
โทษวินัยอย่างร้ายแรง
(๔) ปลดออก
(๕) ไล่ออก
(กรณีโรงพยาบาลรัฐ)
(กรณีโรงพยาบาลเอกชน)