Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 13 ความหมายและขอบเขตของการบริหารจัดการห้องเรียน, นางสาวนัสรา…
บทที่ 13
ความหมายและขอบเขตของการบริหารจัดการห้องเรียน
ความหมายของการบริหารจัดการ
( Management)
รูปแบบของกระบวนการทำงาน
อันเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้อง
กับกลุ่มคนจำนวนมาก
เป็นศาสตร์อย่างหนึ่งอันเป็นความรู้
ที่ทำให้ภารกิจบรรลุสำเร็จด้วยดี
ขอบเขตของการบริหารจัดการในห้องเรียน
การบริหารจัดการในชั้นเรียนไม่สามารถแยกจาก
การจูงใจผู้เรียน
การพัฒนากิจกรรมในห้องเรียน
การลงโทษ
การเขียนแผนจัดการเรียนรู้
รูปแบบการสอน
มุมมองสำคัญ
มโนทัศน์ของการบริหารจัดการในชั้นเรียน
สร้างสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียน
ส่งเสริมในรักเรียน มีวินัยในตนเอง เข้าใจตนเอง ประเมิน
และควบคุมตนเอง
เชื่อมั่นว่าผู้เรียนทุกคนกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้
จัดห้องเรียนในเคลื่อนไหวตลอดเวลา ให้สัมพันธ์กับความรู้สึก
บ่มเพาะผู้เรียนให้เกี่ยวข้อง และให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมห้องเรียน
รูปแบบและการเสริมแรงมีคุณค่าต่อการให้ความเคารพ
การบริหารจัดการห้องเรียนกับการจัดการเรียนการสอน
การบริหารจัดการห้องเรียนกับครูใหม่
เป็นกิจกรรมหลักของครูในการอสดงภาวะผู้นำ
ความรู้พื้นฐาน
ควรจัดให้มีข้อแนะนำเกี่ยวกับหลักการการสอนต่างๆรวมถึงสร้างบรรยากาศเพื่อการเรียนรู้ที่ไม่ปล่อยให้ผู้เรียนมีโอกาสแสดงพฤติกรรมไม่เหมาะสม
ความเข้าใจในการบริหารจัดการห้องเรียน
ครูต้องคุ้นเคยกับการจัดลำดับองค์ประกอบต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กับโรงเรียน
การบริหารจัดการด้านการสนับสนุน
(Supportive management)
การบริหารจัดการด้านการป้องกัน
(Preventive management)
มุมมองเกี่ยวกับการบริหารจัดการพฤติกรรม
ทำลายความสงบและปฏิบัติตามวิถีของโรงเรียน
พฤติกรรม
การเสียงรบกวน/เสียงดัง
การสร้างความรุนแรง
ไม่ทำตามกฎ
ความพยายามในการทำให้ผู้เรียน
มีพฤติกรรมที่เหมาะสม
การมีวินัยในตนเอง
การวางแผน (Planning)
มุมมองเตรียมการด้านสติปัญญาที่วางไว้ล่วงหน้า
การสร้างการยอมรับในพฤติกรรมและปรัชญาส่วนตน
ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนขอครู
การสร้างความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับผู้เรียนและเพื่อร่วมงาน
เจคติของครู
การบริหารจัดการด้านพฤติกรรม
(Behavior management)
การบริหารจัดการในชั้นเรียนที่ดีเริ่มต้นตั้งแต่วันแรกขอโรงเรียน
การบริหารจัดการห้องเรียนในศตวรรษที่21
การเตรียมครูเพื่อสอน
ความท้าทายของการเปลี่ยนแปลง
ด้านโครงสร้างทางสังคมในยุคสังคมสารสนเทศ
พ่อแม่มองหาสถาบันที่จะช่วยให้เด็ก
อยู่ในยุคสังคมสารสนเทศอย่างมีความสุข
ประเทศไทยอยู่ในช่วงปฏิรูปการศึกษา
แผนพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สะท้องการพัฒนาการศึกษาชาติ
ต้องคำนึงถึงศักยภาพและทักษะการสอน
ครูต้องได้รับการฝึกทักษะด้านการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
ครูต้องเปลี่ยนพฤติกรรมจากการรับความรู้มา
เป็นการเรียนรู้ทักษะกระบวนการ
หลักสูตรทุกระดับเปลี่ยนแปลง
บทบาทของครูในฐานะนักบริหารจัดการ
ที่มีภารกิจในห้องเรียน
ตามแนวคิดของ Henry Minitzberg,1950
บทบาทด้านข้อมูล
บทบาทการกระจายหรือแจกจ่ายข้อมูล
บทบาทการรวบรวมข้อมูล
บทบาทการให้ข้อมูล
บทบาทด้านการตัดสินใจ
บทบาทการเป็นผู้เริ่มคิดกิจการ
บทบาทนักแก้ปัญหา
บทบาทเป็นนักแบ่งสสรรทรัพยากร
บทบาทเป็นนักเจรจาข้อขัดแย้ง
บทบาทด้านความสัมพันธ์ระหว่างกัน
บทบาทเป็นผู้นำ
บทบาทเป็นคนกลาง
บทบาทเป็นพระอันดับ
นางสาวนัสรา ดือราแม เลขที่ 5 รหัสนักศึกษา 6220160344