Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 14 ทักษะการสื่อสารสําหรับครู - Coggle Diagram
บทที่ 14 ทักษะการสื่อสารสําหรับครู
ความเข้มแข็ง
การสนับสนุนให้ปรับปรุง/พัฒนาให้ ดีขึ้นโดยครูชี้แจงในพฤติกรรมที่คาดหวังให้ชัดเจน พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมต้องได้รับการแก้ไขให้ถูกต้องด้วย วิธีใด ๆ
ความเข้มแข็งจะเป็นแนวทางควบคุมพฤติกรรมก้าวร้าว (Aggressive) ของผู้เรียนที่มีต่อผู้เรียนที่มี ลักษณะยอมจํานน ครูต้องชี้แจงผู้เรียนให้ชัดเจนครูเอาจริงเอาจังกับการสอนและการเคารพสิทธิของคนอื่น
1) การชี้ให้เห็นปัญหา
(1) ชี้พฤติกรรมของผู้เรียนที่กําลังเกิดขึ้น
(2) บอกผลกระทบของพฤติกรรมดังกล่าว
ภาษาท่าทาง
1) ดูตาผู้เรียน
2) การเข้าไปใกล้ผู้เรียนแต่ไม่ใกล้จนเกินไปจนผู้เรียนกลัว
3) ต้องแสดงสีหน้าลักษณะในหน้าให้เหมาะสมพร้อมน้ําเสียงที่เหมาะสม
การให้ได้มาซึ่งพฤติกรรมที่เหมาะสม
ครูต้องให้ผู้เรียนทราบความกังวล ความ ต้องการของครูเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความตั้งใจ ความตระหนัก และมีการดําเนินการเกี่ยวกับพฤติกรรมนั้นให้ ถูกต้อง แต่ครูต้องรักษาอารมณ์และความสุภาพอารมณ์ขันเล็กน้อย อาจจะช่วยผ่อนคลายความเครียดและครู ต้องแสดงความเป็นมิตร
ความเห็นอกเห็นใจ
คือการรับฟังและเข้าใจผู้เรียนโดยรักษา ความสัมพันธ์ที่ดีมีการพูดคุยปรึกษาหารือกัน
ครูควรมีพฤติกรรมต่าง ๆ ต่อไปนี้เพื่อการแก้ปัญหา
ครูหลีกเลี่ยงการโต้แย้งกับผู้เรียนและยอมรับปัญหาของผู้เรียน บทบาทของครูควรเป็นผู้ฟัง ผู้ช่วย เหลือ แทนที่จะเป็นฝ่ายตรงกันข้าม
การรับฟังอย่างเห็นอกเห็นใจมีประโยชน์มาก
ทักษะการฟัง
คือ การยอมรับการแสดงออกทางอารมณ์ หรือความคิดของผู้เรียนอย่างน้อยก็แสดงให้ เห็นว่าเรารับฟังโดนเพียงแต่ตั้งใจฟัง บางครั้งเพียงแต่แสดงอาการสนใจก็จะช่วยให้ผู้เรียนพูดต่อไปได้
ทักษะกระบวนการ
อาศัยความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลหรือข้อความที่ครูได้รับจากผู้เรียน
การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหามีหลายขั้นตอนเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อตกลงอันเป็นที่ พอใจด้วยกัน มีความจําเป็นต้องวางแผนกับผู้เรียน เพื่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลง
เป็นกระบวนการที่ใช้ในการจัดการและแก้ไขความขัดแย้ง
ขั้นตอนในการแก้ปัญหามีดังนี้
1) กําหนดปัญหา
2) หาแนวทางการแก้ปัญหา
3) แล้วเลือกแนวทางใด ๆ ในบางสถานการณ์
กิจกรรมเสนอแนะ
กิจกรรมที่1: การพัฒนาทักษะความเข้มแข็ง
กิจกรรมนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะเตรียมสถานการณ์เพื่อฝึกทักษะความเข้มแข็ง ในแต่ ละสถานการณ์ให้เตรียมการตอบสนองสถานการณ์อย่างเข้มแข็ง
กิจกรรมที่ 2: Producing Empathic Responses
กิจกรรมนี้ให้ทําร่วมกับคนอื่นๆ โดยผลัดกันแสดงบทบาทเป็นครู-ผู้เรียน
โดยผู้ที่แสดงเป็นครูให้ฝึก ทักษะการแสดงความเห็นอกเห็นใจ (Empathic Responses)
และผู้แสดงบทบาทเป็นผู้เรียนก็พยายามแสดง ให้สมบทบาทที่สุด
กิจกรรมที่ 3: การฝึกการแก้ปัญหา
ใช้บทบาทสมมุติในการฝึกการ
แก้ปัญหาตามขั้นตอนต่าง ๆ
กิจกรรมที่ 4: การวิเคราะห์บทสนทนา