Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 15 การจัดการเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เป็นปัญหา, นางสาวนัสรา ดือราแม…
บทที่ 15
การจัดการเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาคืออะไร
(What is Problem Behavior)
สิ่งที่ไม่เป็นปัญหา
พฤติกรรมที่แสดงความไม่สนใจระยะสั้น
เช่น การคุยกันในระหว่างการเปลี่ยนกิจกรรม🏃♀️
ปัญหาที่ไม่รุนแรง
พฤติกรรมที่ขัดต่อกระบวนการและกฎ
แต่ไม่รบกวนกิจกรรมการเรียนการสอน
นั่งคุยกันในขณะทำแบบฝึกหัดหรืองานกลุ่ม
ปัญหาที่รุนแรง แต่มีข้อจำกัด
เรื่องขอบเขตและผลกระทบ
พฤติกรรมกระทบการเรียนการสอน
กับผู้เรียนคนเดียวหรือ 2-3 คน
เช่น ไม่ทำงานแต่เดินรอบๆห้อง
เป้าหมายในการจัดการพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
(Goals for managing problem)
เป้าหมายที่เป็นระยะสั้น
หยุดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
และผู้เรียนต้องปรับพฤติกรรม
เช่น การคุย โอ้อวดในขณะที่เพื่อทำแบบฝึกหัด
เป้าหมายของผลระยะยาว
ต้องป้องกันพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมนั้น
ไม่ให้เกิดขึ้นอีก
เช่น การทำร้ายเพื่อน ทำให้เกิดการขุ่นเคืองใจ
กลยุทธ์ในการจัดการ
(Management Strategies)
มาตรการการแก้ปัญหาที่มีความรุนแรงปานกลาง
2.3 การทำโทษ
วิชาพลศึกษาให้ผู้เรียนวิ่ง รอบสนามเพิ่มขึ้น
วิชาคณิตศาสตร์ให้ผู้เรียนทำแบบฝึกมากขึ้น
2.4 การกักตัวผู้เรียน
กักตัวช่วงพักหลางวัน
กักตัวได้ไม่เกิน 10-15 นาที
2.2 การแยก
จัดให้นั่งหันหน้าไปในทิศทางที่ไม่มีผู้เรียนคนอื่น
แยกให้นั่งยอกห้องเรียน
ตัดสิทธิการมีส่วนร่วมในห้องเรียน
2.5 การใช้อำนาจของโรงเรียน
ส่งผู้เรียนที่มีปัญหาไปยังห้องครูใหญ่
การพบผู้ปกครอง
2.1 งดสิทธิพิเศษหรือกิจกรรมพิเศษ
ไม่อนุญาตให้เดินในห้อง
งดการทำงานกลุ่ม
งดนั่งใกล้เพื่อนที่ชอบพอกัน
มาตรการสำหรับปัญหาไม่ร้ายแรง
1.5 ดำเนินการสอนใหม่
ทบทวนบทเรียนใหม่ หากผู้เรียนไม่เข้าใจแบบฝึก
ให้ทำแบบฝึกเพื่อสร้างความเข้าใจ
1.6 บอกให้ผู้เรียนหยุดพฤติกรรม
ที่ไม่เหมาะสม
ครูมองตาเอาจริงเอาจัง
ครูพูดสั้นๆ
คอยดูพฤติกรรมจนกว่าจะทำตาม
1.4 เตือนหรือแจ้งให้ผู้เรียน
ปฏิบัติให้ถูกต้องเหมือนเดิม
ให้ผู้เรียนตอบแบบฝึกหัดท้ายบท
ให้ทุกกลุ่มต้องใจทำงาน
ชื่อชมผู้เรียนโดยการเรียกชื่อ
1.7 ให้ทางเลือกแก่ผู้เรียน
ครูเสนอทางเลือกเพื่อเปิดโอกาส
ให้ผู้เรียนจัดการตัวเอง
ให้ผู้เรียนเลือกเองว่าจะนั่งทำงานเงียบๆ
ที่โต๊ะตัวเองหรือไปนั่งแยกต่างหาก
ให้ผู้เรียนเลือกว่าจะทำความสะอาด
ตอนนี้หรือตอนพักเที่ยง
1.3 การใช้กระบวนการกลุ่ม
ความรับผิดชอบงานกลุ่ม
ดึงความสนใจผู้เรียนสู่บทเรียน
1.2 การเข้าไปใกล้
ครูเดินเข้าใกล้ผู้เรียน ใช้วิธีการไม่ต้องใช้คำพูด
1.1 ให้กิจกรรมเลื่อนไหลต่อเนื่อง
เตรียมการสอน
เตรียมอุกรณ์สื่อให้กระชับ
ครูต้องดูแลอย่างใกล้ชิด
1.8 การใช้สื่อสาร ครู-รู้สึก
ครูรู้สึกรำคาญและไม่สบายใจ
มาตรการในการแก้ปัญหาที่รุนแรงขึ้น
3.3 ใช้ระบบเพิ่มโทษ
สร้างแบบฟอร์มกำหนดลำดับชั้นความผิด
กิจกรรมให้ผู้เรียนทำรายงานบุคคล
3.2 พบผู้ปกครอง
การพูดคุยกับผู้ปกครองโดยตรง
การโทรศัพท์
3.4 ใช้วิธีการแก้ปัญหา
ชั้นที 1: ใช้สัญญาณโดยไม่ต้องพูด
ชั้น ที่ 2: แจ้งผู้เรียนให้ปฏิบัติตามกฎ
ชั้น ที่3: ทำข้อตกลงอย่างอืน
ชั้น ที่ 4: แยกออกไปอยู่ในพื่อนที่กำหนด
ชั้นที่ 5: ส่งไปหาคณุใหญ่
3.1 ทำข้อผูกพันสัญญา
ครูต้องแรงจูงใจผู้เรียนด้วย
การเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรด้วยการเซนต์ชื่อ
ต้องมีข้อปฏิบัติและข้อตกลง
3.5 ใช้วิธีการแก้ปัญหา
วิธีการของ Glosser
สร้างความสัมพันธ์โดยให้ความสนใจ
และเอาใจใส่ผู้เรียน
เน้นพฤติกรรม
รู้จักการยอมรับ
ความรับผิดชอบ
ประเมินพฤติกรรมว่าดีขึ้นหรือแย่ลง
สร้างข้อตกลงร่วมกัน หรือเขียนเป็นสัญญา
ปัญหาพิเศษ
การแสดงอาการหยาบคายต่อผู้สอน
การหลีกเลี่ยงานเป็นประจำ
การพูกมาก
การทะเลาะวิวาท
พฤติกรรมก้าวร้าวอื่น
การท้าทายหรือแสดงพฤติกรรมก้าวต่อครู
ข้อเตือนใจประเด็นสุดท้าย : คิดและปฏิบัติอย่างสร้างสรรค์
การลงโทษไม่ช่วยผู้เรียนเปลี่ยนพฤติกรรมในทางที่พึงประสงค์ ดังนั้นครูจึงต้องมีการอธิบาย
นางสาวนัสรา ดือราแม เลขที่ 5 รหัสนักศึกษา 6220160344