Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 พฤติกรรมทางสังคม - Coggle Diagram
บทที่ 7 พฤติกรรมทางสังคม
อิทธิพลของสังคมต่อพฤติกรรมมนุษย์
อิทธิพลของสังคม
อิทธิพลของกลุ่ม
การคล้อยตามกลุ่ม
ความก้าวร้าว
องค์ประกอบของความก้าวร้าว ได้แก่ สัญชาตญาณ ชีววิทยา ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา
ช่องว่างระหว่างบุคคล
ช่องว่างระหว่างบุคคล
ระยะห่างบุคคล
ระยะสาธารณะ
ระยะใกล้ชิด
ธรรมชาติของพฤติกรรมมนุษย์ในบริบทสังคมและวัฒนธรรม
โครงสร้างของกลุ่มและการอยู่ร่วมกัน
ประกอบด้วย เครือค่ายของบทบาท เส้นทางการสื่อสาร และ พลังของกลุ่ม
ความหมายพฤติกรรมทางสังคม
พฤติกรรมที่แสดงที่แสดงออกเมื่อบุคคลต้องมีความเกี่ยวข้องกับสังคมเป็นปฏิกิริยาสะท้อนที่แสดงให้ เห็นถึงความคิด ความรู้สึก และการกระทำของบุคคล
แง่มุมปัจเจกบุคคล : ส่วนหนึ่งของกลุ่มทางสังคม
พฤติกรรมช่วยเหลือสังคม
หมายถึง พฤติกรรมที่สังคมได้รับประโยชน์และเป็นพฤติกรรมที่ช่วยเหลือบุคคลอื่น รูปแบบการศึกษาที่ช่วยเหลือพฤติกรรมสังคมรูปแบบหนึ่ง
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมช่วยเหลือสังคม
การเปลี่ยนแปลงของสังคม
บรรทัดฐานของสังคม
การส่งเสริมพติกรรมช่วยเหลือ
การขจัดพฤติกรรมที่ไม่ให้ความช่วยเหลือ
การขัดเกลาทางสังคมด้านพฤติกรรมการช่วยเหลือ
บทบาทผู้นำ
ทฤษฎีความเป็นบุคคลที่ยิ่งใหญ่
รูปแบบบังเอิญ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ และ แนวทัศน์ที่เกี่ยวข้อง
การสร้างมิตรภาพระหว่างบุคคล
หมายถึง การสร้างความสัมพันธ์อย่างสนิทกับบุคคลอื่น เป็นการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมขั้นพื้นฐานตามความสมัครใจในขณะที่การก่อรูปร่างความประทับใจของบุคคลอื่น เริ่มเกิดขึ้น
ทฤษฎีความรักสามเหลี่ยมของ Sternberg
ความสนิทสนม
กามารมณ์
การตัดสินใจ/ยอมรับ
มิตรภาพ
คือ รูปแบบการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องกับกฎเป็นลักษณะความสัมพันธภาพอย่างไม่เป็นทางการและนำไปสู่การดำรงชีวิติอย่างยั่งยืน
การรับรู้ทางสังคม
การพัฒนาความรู้สึกประทับใจต่อบุคคลอื่น
การแสดงตนต่อบุคคลอื่นด้วยการจัดการความประทับใจ
ทฤษฎีการเปรียบสังคม
ตามแนวคิด ทฤษฎีแนวคิดนี้เชื่อว่าความปราถนาจะมีแรงจูงใจในการประเมินตนเองเป็นสิ่งที่จะกระตุ้นให้บุคคลสร้างความสัมพันกับบุคลอื่น ในลักษณะกลุ่มที่บุคคลต้องเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย
เจตคติและการเปลี่ยนแปลงเจตคติ
การก่อรูปของเจตคติ
หน้าที่ของเจตคติ
องค์ประกอบของเจตคติ
การเปลี่ยนแปลงเจตคติ
การวัดเจตคติ